Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1134
Title: Guidelines for Agro-Tourism Development Approach of WaoKeaw Community, Hang Chart District in Lampang Province
แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรของชุมชนวอแก้วอำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง
Authors: Pimpisa Chanmanee
พิมพ์พิศา จันทร์มณี
Phatpitta Sreesoompong
พัจน์พิตตา ศรีสมพงษ์
University of Phayao
Phatpitta Sreesoompong
พัจน์พิตตา ศรีสมพงษ์
phatpitta.sr@up.ac.th
phatpitta.sr@up.ac.th
Keywords: การท่องเที่ยวเชิงเกษตร
ศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร
แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยว เชิงเกษตร
Agro-tourism
the potential of Ago-Tourism attractions
the guidelines for Agro-Tourism Development
Issue Date:  21
Publisher: University of Phayao
Abstract: The purposes of this research are as follows: 1) to study the context and the potential for agro-tourism development at Wao Keaw Community, Hang Chat District in Lampang Province, 2) to study stakeholders’ requirements for agro-tourism development at Wao Keaw Community, Hang Chat District in Lampang Province, 3) to study visitors’ requirements for agro-tourism development at Wao Keaw Community, Hang Chat District in Lampang Province, 4) to propose guidelines for Agro-Tourism Development Approach of WaoKeaw Community, Hang Chart District in Lampang Province. This study was done by qualitative and quantitative methods using in-depth interviews which are involved and engaged in agro-tourism destinations of Wao Keaw Community, Hang Chat District in Lampang Province. Data was analyzed by two ways: 1. qualitative data was analyzed through relevant literatures, field observation and interview, and 2. quantitative analysis was done though questionnaire. The basic statistics used to analyze data were percentage and mean. The guidelines for Agro-Tourism Development Approach of WaoKeaw Community, Hang Chart District in Lampang Province by using content analysis. The findings showed that Wao Keaw Community had a potential to develop into an agro-tourism destination because of its location and the major area for agricultural production in Lampang Province. However, the priority should be given to the management of agro-tourism. The area must be defined for utilizing and publishing to accommodate the visitors as well as creating awareness among the villagers within the community regarding agro tourism. Another factor to consider was assigning the experts and specialists to manage all of tourism related aspects. Followed by providing the services related to agro-tourism destinations; the community should allocate or increase the number of the personnel to accommodate the visitors, providing necessary details, tour as well as giving the information about the community tourist attractions, and agricultural activities. Knowledge and information must also be conveyed completely. Finally, the community should prioritize on accommodating the visitors at agro-tourism destinations by limiting the fixed number of visitors and setting service time clearly and appropriately to attract tourist all year round.
การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์คือ 1) ศึกษาบริบทและศักยภาพด้านการท่องเที่ยวเชิงเกษตรของชุมชนวอแก้ว อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง 2) ศึกษาความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรของชุมชนวอแก้ว อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง 3) ศึกษาความต้องการของผู้มาเยือนในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรของชุมชนวอแก้ว อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง 4) เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรของชุมชนวอแก้ว อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง การศึกษานี้เป็นวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณโดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกกับการใช้แบบประเมินมาตรมาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรเป็นเครื่องมือในการสอบถามในครั้งนี้ด้วย การวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ 1. วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหาจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง ลงพื้นที่สังเกตการณ์ สัมภาษณ์ และ 2. วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณจากแบบสอบถาม โดยใช้สถิติเบื้องต้น ได้แก่ ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย เพื่อนำเสนอแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรของชุมชนวอแก้ว อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง ผลการวิจัยพบว่า ชุมชนวอแก้วมีศักยภาพที่สามารถพัฒนาไปสู่แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรได้ เพราะมีความโดดเด่นทางด้านพื้นที่และเป็นแหล่งทำเกษตรเกษตรที่สำคัญของจังหวัดลำปาง แต่ควรให้ความสำคัญในด้านการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรเป็นอันดับแรก โดยต้องกำหนดเขตพื้นที่การใช้ประโยชน์และเผยแพร่ เพื่อรองรับผู้มาเยือนและการรับรู้ร่วมกันของคนในชุมชน อีกประการหนึ่งคือ ควรกำหนดบุคลากรที่เชี่ยวชาญและเหมาะสมมาบริหารจัดการในทุก ๆ ด้าน รองลงมาคือด้านการให้บริการของแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร ควรจัดสรรหรือเพิ่มบุคลากรในการรองรับผู้มาเยือน ที่สามารถแนะนำรายละเอียดต่าง ๆ นำชมสถานที่และหรือบรรยายเกี่ยวกับชุมชน แหล่งท่องเที่ยวและกิจกรรมทางด้านการท่องเที่ยว โดยจะต้องถ่ายทอดความรู้และให้ข้อมูลอย่างครบถ้วน สุดท้ายคือควรให้ความสำคัญในด้านการรองรับของแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร ควรมีการกำหนดจำนวนผู้มาเยือน และช่วงเวลาให้บริการของแหล่งท่องเที่ยวอย่างชัดเจนและเหมาะสมกับการท่องเที่ยวได้ตลอดทั้งปี
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1134
Appears in Collections:School of Business and Communication Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59079527.pdf4.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.