Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1119
Title: FACTORS OF PARTICULATE MATTER EXPOSURE CAUSING CHRONIC OBSTRUCTIVE PULMONARY DISEASE IN MUEANG MAI SUBDISTRICT, CHAE HOM DISTRICT, LAMPANG PROVINCE
ปัจจัยการสัมผัสฝุ่นละอองขนาดเล็กที่ทำให้เกิดโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ในพื้นที่ตำบลเมืองมาย อำเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำปาง
Authors: Pichayanin Chompubai
พิชญานิน ชมภูใบ
Patipat Vongruang
ปฏิพัทธ์ วงค์เรือง
University of Phayao
Patipat Vongruang
ปฏิพัทธ์ วงค์เรือง
patipat.vo@up.ac.th
patipat.vo@up.ac.th
Keywords: โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน
การสัมผัส
การป้องกันตนเอง
COPD
PM2.5
Exposure
Self Protective Behavior
Issue Date:  15
Publisher: University of Phayao
Abstract: The accumulation of exposure to particulate matter causes Chronic Obstructive Pulmonary Disease (COPD). The Mueang Mai subdistrict has the highest rate of COPD patients in Chae Hom District, Lampang province, which corresponds to the consistently elevated Fine particulate matter smaller than 2.5 micrometers (PM2.5) levels exceeding the national PM2.5 air quality standards in Thailand. The objective is to investigate factors influencing exposure to PM2.5 in the air that contribute to the development COPD in a sample of 20 individuals. Data was collected through questionnaires assessing knowledge, prevention behaviors, and PM2.5 data from the Pollution Control Department station 39T. Pulmonary function data from Chae Hom Hospital since 2019-2022. The analysis was performed using correlation coefficients. The results found that the knowledge level was moderate. The prevention behaviors related to PM2.5 were generally low, with the majority of sampled individuals engaging in outdoor daily routines and often not wearing dust masks. The correlation analysis revealed that effective prevention behaviors significantly impacted lung function (r = -0.489, P value < 0.05). Additionally, high PM2.5 levels greatly impacted lung function (r = 0.518, P value < 0.05). Therefore, promoting self-protection behaviors and effectively communicating health warnings regarding PM2.5 levels can help significantly reduce the impact of COPD.
โรคปอดอุดกันเรื้อรัง (COPD) เกิดจากการสะสมการรับสัมผัสฝุ่นละอองขนาดเล็ก ซึ่งในพื้นที่ตำบลเมืองมายมีอัตราการป่วยสูงเป็นอันดับ 1 ของอำเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำปาง สอดคล้องกับระดับฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน (PM2.5) ที่เกินมาตรฐานรายปีอย่างต่อเนื่อง งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อ การสัมผัส PM 2.5 ที่ทำให้เกิดโรค COPD ในกลุ่มตัวอย่างจำนวน 20 คน เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามประเมินความรู้และพฤติกรรมการเฝ้าระวังและป้องกัน และใช้ข้อมูลระดับ PM2.5 จากกรมควบคุมมลพิษ สถานี 39T และข้อมูลสมรรถภาพของปอดจากโรงพยาบาลแจ้ห่ม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562-2565 วิเคราะห์ร่วมกันโดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ พบว่า ระดับความรู้ของผู้ป่วยอยู่ในระดับปานกลาง มีระดับพฤติกรรมการเฝ้าระวังและการป้องกัน PM2.5 ในระดับต่ำ โดยส่วนมากกลุ่มตัวอย่างมีกิจวัตรประจำวันอยู่ในที่โล่งและมักไม่สวมหน้ากากป้องกันฝุ่น เมื่อวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ พบว่า พฤติกรรมการเฝ้าระวังและการป้องกัน PM2.5 ที่ดีจะส่งผลต่อสมรรถภาพของปอดดีอย่างมีนัยสำคัญ (r = -0.489, P value < 0.05) นอกจากนั้นยังพบว่า ระดับ PM2.5 ที่สูง ก็จะส่งผลเสียต่อสมรรถภาพของปอดอย่างมีนัยสำคัญ (r= 0.518, P value < 0.05) ดังนั้นจึงควรส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันตนเอง และสื่อสารสุขภาพแจ้งเตือนภัยระดับ PM2.5 ให้มีประสิทธิภาพจะช่วยลดผลกระทบกับการเกิด COPD ได้อย่างชัดเจน
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1119
Appears in Collections:คณะสาธารณสุขศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64224491.pdf955.31 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.