Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1118
Title: HEALTH LITERACY, SELF-CARE BEHAVIORS AND BIOCHEMICAL PARAMETERS AMONG HYPERTENSIVE PATIENTS WITH RENAL COMPLICATIONS IN THE ETHNIC COMMUNITY OF THAILAND
ความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพ และพฤติกรรมการดูแลตนเอง กับค่าบ่งชี้ทางเคมีของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไต กลุ่มผู้สูงอายุชาติพันธ์ ภาคเหนือของไทย
Authors: Nitaya Sriprachot
นิตยา ศรีประโชติ
Katekaew Seangpraw
เกษแก้ว เสียงเพราะ
University of Phayao
Katekaew Seangpraw
เกษแก้ว เสียงเพราะ
katekaew.se@up.ac.th
katekaew.se@up.ac.th
Keywords: ความรอบรู้ด้านสุขภาพ
พฤติกรรมการดูแลตนเอง
ค่าบ่งชี้ทางเคมี
โรคความดันโลหิตสูง
ภาวะแทรกซ้อนทางไต
กลุ่มผู้สูงอายุชาติพันธ์
health literacy
self-care behaviors
biomarker
hypertension
renal complication
Ethnic Community
Issue Date:  15
Publisher: University of Phayao
Abstract: The goal of this cross-sectional study was to examine the relationship between biochemical parameters, self-care behaviors, and health literacy in hypertensive patients with renal complications among Tai Lue. The sample consisted of 405 elderly people with kidney complications and were of Tai Lue ethnicity. The study was carried out in rural Phayao Province, Chiang Kham District using a multi-stage sampling method. Face-to-face interviews with questionnaires were used to collect information. Blood pressure (BP) and biochemical parameters, such as fasting blood sugar (FBS) and estimated glomerular filtration rate (eGFR), were measured. Descriptive statistics and multiple regression using the Backword Multiple Regression Analysis technique were used to analyze the data. The study found that the participants’ mean age was 68.3 years. A moderate percentage (37.5%) of participants had self-care behavior (SCB) scores (mean=86.17, S.D.=15.48) and nearly half had functional literacy scores (41.5%) (mean=22.46, S.D.=6.15). A significant correlation was found between health literacy (HL), SCB, systolic blood pressure (SBP), diastolic blood pressure (DBP), FBS, and eGFR (p
การวิจัยแบบภาคตัดขวางมีวัตถุประสงค์การศึกษาวิจัยนี้เพื่อมุ่งเน้นความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพ พฤติกรรมการดูแลตนเองกับค่าบ่งชี้ทางเคมีของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไต กลุ่มตัวอย่างจำนวน 405 คนเป็นผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไตและชาติพันธ์ไทลื้อ ใช้วิธีการสุ่มแบบ หลายขั้นตอน (Multi-stage sampling) และดำเนินการวิจัยในพื้นที่ชนบทอำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา โดยใช้การสัมภาษณ์แบบตัวต่อตัวและแบบสอบถามเพื่อรวบรวมข้อมูล ระดับความดันโลหิต (BP) และพารามิเตอร์ทางชีวเคมี เช่น น้ำตาลในเลือดขณะอดอาหาร (FBS) และอัตราการกรองไต (eGFR) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติสมการถดถอยพหุคูณ โดยใช้เทคนิคแบบ Backword Multiple Regression Analysis ผลการศึกษาพบว่า อายุเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 68.3 ปี เกือบครึ่งมีคะแนนระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพขั้นพื้นฐาน (41.5%) (ค่าเฉลี่ย=22.46, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน=6.15) และระดับคะแนนพฤติกรรมการดูแลตนเองอยู่ระดับปานกลาง (37.5%) (ค่าเฉลี่ย=86.17, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน=15.48) เมื่อวิเคราะห์พบความสัมพันธ์ที่มีนัยสำคัญระหว่างคะแนนความรอบรู้ด้านสุขภาพ คะแนนพฤติกรรมการดูแลตนเอง ระดับความดันโลหิตซิสโตลิก และระดับความดันโลหิตไดแอสโตลิก น้ำตาลในเลือดขณะอดอาหาร และอัตราการกรองไต (p
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1118
Appears in Collections:คณะสาธารณสุขศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64224446.pdf1.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.