Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1117
Title: | THE EFFECTIVE OF EXPERIENTIAL LEARNING PROGRAM FOR PERCEPTIVEAND BEHAVIORAL PREVENTION OF DENGUE FEVER AMONG THE HMONGHILL TRIBE, THA KHAM SUBDISTRICT, WIANG KAEN DISTRICT,CHIANG RAI PROVINCE ประสิทธิผลของโปรแกรมการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ต่อการรับรู้และพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก ในชาวเขาเผ่าม้งตำบลท่าข้าม อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย |
Authors: | Kittiya Marung กิตติยา มารังค์ Sorawit Boonyathee สรวิศ บุญญฐี University of Phayao Sorawit Boonyathee สรวิศ บุญญฐี sorawit.bo@up.ac.th sorawit.bo@up.ac.th |
Keywords: | โปรแกรมการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ การรับรู้ พฤติกรรมการป้องกันโรค ชาวเขาเผ่าม้ง โรคไข้เลือดออก Experiential Learning Program Perceptive Behavioral Prevention Hmong hill tribe Dengue fever |
Issue Date: | 15 |
Publisher: | University of Phayao |
Abstract: | The purpose of this quasi-experimental research was to study the effect of an experiential learning program on dengue prevention perception and behavior. in the Hmong hill tribe, Tha Kham
sub-district, Wiang Kaen district, Chiang Rai Province. The study included 60 Hmong hill tribe people aged 20-60 years, divided into an experimental group and a comparison group of 30 people each, and were chosen at random using simple random sampling. A questionnaire was used, and experiential learning program were used to study the data for 6 weeks. Descriptive statistics and Analytical statistics such as Paired samples t-test and independent samples t-test. The results showed that most of the experimental group were female, 60%, with an average age of 37.43 years. Family members had been sick with dengue fever, 43.3 percent. Most of the comparison group were males, 53.3%, with an average age of 39.4 years. Family members had experienced dengue fever, 36.7%. The experimental group had average scores on perception and behavior for prevention of dengue fever. Higher than before receiving the experiential learning program (p-value < 0.05) and significantly higher than the comparison group (p-value < 0.05). The House Index, Container Index, Breteau Index decreased more than before and decreased more. The comparison group was statistically significant (p-value < 0.05). การวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ต่อการรับรู้และพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก ในชาวเขาเผ่าม้ง ตำบลท่าข้าม อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย กลุ่มตัวอย่างเป็นชาวเขาเผ่าม้ง อายุ 20–60 ปี จำนวน 60 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มละ 30 คน ทำการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามและโปรแกรมการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ ใช้ระยะเวลาในการศึกษา 6 สัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Paired samples t-test และ Independent samples t-test ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มทดลองส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 60 อายุเฉลี่ย 37.43 ปี สมาชิกในครอบครัวเคยป่วยเป็นโรคไข้เลือดออก ร้อยละ 43.3 กลุ่มเปรียบเทียบ ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ร้อยละ 53.3 อายุเฉลี่ย 39.4 ปี สมาชิกในครอบครัวเคยป่วยเป็นโรคไข้เลือดออก ร้อยละ 36.7 กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้และพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรม การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ (p-value < 0.05) และสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.05) และค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย มีค่าลดลงมากกว่าก่อนการทดลองและลดลงมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิต (p-value < 0.05) |
URI: | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1117 |
Appears in Collections: | คณะสาธารณสุขศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
64224367.pdf | 1.31 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.