Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1113
Title: | THE STATE AND GUIDELINES FOR PERSONNEL MANAGEMENT ACCORDING TO THE GOOD GOVERNANCE PRINCIPLES OF SUPPORT STAFF, UNIVERSITY OF PHAYAO สภาพและแนวทางการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของพนักงานสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยพะเยา |
Authors: | Naridsara Wongsarat นริศรา วงษารัตน์ santi Buranachart สันติ บูรณะชาติ University of Phayao santi Buranachart สันติ บูรณะชาติ santi.bu@up.ac.th santi.bu@up.ac.th |
Keywords: | สภาพและแนวทาง การบริหารงานบุคคล ธรรมาภิบาล The State and Guidelines Personnel Management Good Governance |
Issue Date: | 15 |
Publisher: | University of Phayao |
Abstract: | This research aimed to investigate the state and guidelines for personnel management according to the principles of good governance among support staff at the University of Phayao. Specifically, it sought to compare these practices across different educational backgrounds and work experiences. The study involved 280 support staff members and 5 university administrators.
The findings revealed that overall personnel management practices among support staff at Phayao University were rated as very satisfactory. When comparing these practices across various educational backgrounds and work experiences, shows significant differences. Additionally, the study proposed guidelines for personnel management, suggesting adherence to principles of equity and transparency in committee appointments, recruitment, selection, hiring, and contract agreements. It emphasized considerations such as salary, compensation, benefits, and welfare, focusing on job performance outcomes, performance evaluations, performance-based rewards, clear and transparent leave policies, and staff development to enhance skills and competence. Considerations for employee rights, as stipulated by law, were also highlighted. This research contributes to the understanding of personnel management practices in the academic setting, providing insights into areas for improvement and offering practical guidelines for enhancing ethical conduct in personnel management. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารงานบุคคลตามหลัก ธรรมาภิบาลของพนักงานสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยพะเยา 2) เพื่อเปรียบเทียบสภาพการบริหารงานบุคคล ตามหลักธรรมาภิบาลของพนักงานสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยพะเยาจำแนกตามวุฒิการศึกษาและประสบการณ์ ในการทำงาน และ 3) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของพนักงานสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยพะเยา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ พนักงานสายสนับสนุนมหาวิทยาลัยพะเยา จำนวน 280 คน และ ผู้บริหาร มหาวิทยาลัยพะเยา จำนวน 5 คน ผลการวิจัย พบว่า 1) สภาพการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของพนักงานสายสนับสนุน ในมหาวิทยาลัยพะเยา โดยภาพรวมทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุด 2) เปรียบเทียบสภาพการบริหารงานบุคคล ตามหลักธรรมาภิบาลของพนักงานสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยพะเยา จำแนกตามวุฒิการศึกษาและประสบการณ์ ในการทำงาน โดยภาพรวมแตกต่างกัน และ 3) แนวทางการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของพนักงาน สายสนับสนุน มหาวิทยาลัยพะเยา ด้านคณะกรรมการ ควรยึดตามหลักความเสมอภาค เท่าเทียมกัน ด้านการกำหนดตำแหน่ง การบรรจุ การแต่งตั้ง การจ้างและการทำสัญญาจ้าง จะต้องตรงกรอบความรู้ ความสามารถ ด้านเงินเดือน ค่าตอบแทน สิทธิประโยชน์และสวัสดิการต่าง ๆ พิจารณาความดีความชอบ มุ่งเน้นที่ ผลสัมฤทธิ์ของงาน ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ประเมินตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ มุ่งผลสัมฤทธิ์ในงาน ด้านการลา มีนโยบายการลาที่ชัดเจนและโปร่งใส ด้านการพัฒนาบุคลากรมหาวิทยาลัย ส่งเสริมสนับสนุน เพิ่มประสิทธิภาพด้านทักษะความชำนาญในหน้าที่ที่รับผิดชอบ ด้านการออกจากงาน คำนึงถึงสิทธิต่าง ๆ ที่จะต้องได้รับ ตามที่กฎหมายกำหนด |
URI: | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1113 |
Appears in Collections: | School of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
65204502.pdf | 3.11 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.