Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1100
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Chanyanut Fukaeo | en |
dc.contributor | ชัญญานุช ฟูแก้ว | th |
dc.contributor.advisor | Somsak Aeamkongsee | en |
dc.contributor.advisor | สมศักดิ์ เอี่ยมคงสี | th |
dc.contributor.other | University of Phayao | en |
dc.date.accessioned | 2024-10-10T12:33:50Z | - |
dc.date.available | 2024-10-10T12:33:50Z | - |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 15/10/2024 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1100 | - |
dc.description.abstract | This research studied school-based management (SBM) in Samut Prakan Secondary schools, It aimed to: 1) assess teachers' perceived SBM levels, and 2) compare these perceptions based on demographics (gender, education, experience, school size). The sample consisted of 148 teachers of Samut Prakan Secondary schools. The research tool was a 5 rating scale questionnaire with a reliability of .958. The statistics used in the data analysis were frequently, percentage, mean, standard deviation, t-test and One-way ANOVA The findings revealed that: 1) Overall SBM level was rated very high, with checks & balances being perceived as strongest, followed by decentralization, participation, and self-management. 2) Gender and education level showed no significant impact on SBM perception. Work experience only affected the perception of decentralization, with teachers having 10+ years of experience differing from those with 5-10 years. School size did affect perception, with larger schools reporting higher SBM levels overall. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการตามความคิดเห็นครูผู้สอน 2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของครูผู้สอนเกี่ยวกับการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการตามลักษณะชีวสังคม ได้แก่ ตามเพศ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ทำงาน และขนาดโรงเรียนของครูผู้สอน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างครูผู้สอน ปีการศึกษา 2566 ด้วยโปรแกรม G*Powwer 3.1 ได้จำนวน 148 คน แล้วใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) ตามขนาดโรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามลักษณะแบบมาตรประมาณค่า (Rating scale) ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .958 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที แบบกลุ่มตัวอย่างที่เป็นอิสระจากกัน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีเชฟเฟ่ ผลการศึกษาพบว่า 1) ระดับการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการตามความคิดเห็นครูผู้สอน มีค่าเฉลี่ยทั้งโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยรายด้านจากมากไปน้อย คือ หลักการตรวจสอบและถ่วงดุล หลักการกระจายอำนาจ หลักการมีส่วนร่วม และหลักการบริหารตนเอง ตามลำดับ 2) ผลเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูผู้สอนเกี่ยวกับการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการตามลักษณะชีวสังคมจำแนกตามเพศ และระดับการศึกษาของครูผู้สอน พบว่า โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน เมื่อจำแนกตามประสบการณ์ทำงาน พบว่า โดยรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้าน ด้านหลักการกระจายอำนาจ ครูผู้สอนที่มีประสบการณ์ทำงาน 10 ปี ขึ้นไป แตกต่างกับครูผู้สอนที่มีประสบการณ์ทำงาน 5 ปี – 10 ปี จำแนกตามขนาดโรงเรียนของครูผู้สอน พบว่า โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน | th |
dc.subject | สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการ | th |
dc.subject | School Based Management | en |
dc.subject | The Secondary Education Service Area Office Samutprakarn | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | School based - Management of School under The Secondary Educational Service Area Office Samutprakan | en |
dc.title | การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการ | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง | th |
dc.contributor.coadvisor | Somsak Aeamkongsee | en |
dc.contributor.coadvisor | สมศักดิ์ เอี่ยมคงสี | th |
dc.contributor.emailadvisor | somsak.ae@up.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | somsak.ae@up.ac.th | |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed. (Educational Administration)) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา)) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Educational Administration | en |
dc.description.degreediscipline | การบริหารการศึกษา | th |
Appears in Collections: | School of Management and Information Sciences |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
65160031.pdf | 1.95 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.