Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1070
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPimpika Khuanwangen
dc.contributorพิมพ์พิกา เขื่อนวังth
dc.contributor.advisorSunthon Khlal umen
dc.contributor.advisorสุนทร คล้ายอ่ำth
dc.contributor.otherUniversity of Phayaoen
dc.date.accessioned2024-06-05T15:16:14Z-
dc.date.available2024-06-05T15:16:14Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued20/5/2024
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1070-
dc.description.abstractThe objectives of this research are: 1) To study the skills of administrators in the 21st century in educational institutions, network groups promoting the efficiency of educational management centers, special education districts in the upper northern region of 8 provinces. 2) To compare the skills of administrators in the 21st century in educational institutions, network groups promoting the efficiency of educational management centers, special education districts in the upper northern region of 8 provinces, categorized by educational level and work experience. The sample group consists of school directors or acting directors, assistant directors, and teachers in the network groups promoting the efficiency of educational management centers, special education districts, in district 8. A total of 248 individuals were randomly sampled and proportioned according to the population size in each center. The research instrument used is a questionnaire with a Likert scale. The statistical analysis includes frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test, and One-way ANOVA. Scheffe’s method is used for post-hoc analysis when significant differences are found. The research findings are as follows: 1. The skills of administrators in the 21st century in educational institutions, network groups promoting the efficiency of educational management centers, special education districts in district 8 of the upper northern region of 8 provinces, are generally at a high level in all aspects. When considering each aspect, interpersonal skills are the highest, followed by creativity, communication, vision, and technology skills being the lowest. 2. Comparing opinions on the skills of administrators in the 21st century in educational institutions, network groups promoting the efficiency of educational management centers, special education districts in district 8 of the upper northern region of 8 provinces, categorized by educational level and work experience, overall and in each aspect, there were no statistically significant differences at the .05 level. However, when considering technology skills, there were statistically significant differences at the .05 level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาทักษะของผู้บริหารในศตวรรษ 21 ในสถานศึกษา กลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน 2) เพื่อเปรียบเทียบ ทักษะของผู้บริหารในศตวรรษ 21  ในสถานศึกษา กลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน จำแนกตามระดับการศึกษาและประสบการณ์การในการปฏิบัติงาน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้อำนวยการสถานศึกษา หรือรักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา รองผู้อำนวยการ ครูผู้สอนในสถานศึกษากลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 8 โดยการเปิดตารางสำเร็จรูปของเครซี่ และมอร์แกน ได้จำนวน กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 248 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น แล้วนำมากำหนดสัดส่วน ตามขนาดของประชากรในแต่ละศูนย์ฯ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์หาค่า (t-test), (F-test) และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One way ANOVA) เมื่อพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ เปรียบเทียบโดยวิธีของเชฟเฟ่ (Scheffe’s method) ผลการวิจัยพบว่า 1. ทักษะของผู้บริหารในศตวรรษ 21 ในสถานศึกษากลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า สูงที่สุด คือ ด้านมนุษยสัมพันธ์ รองลงมาด้านการคิดสร้างสรรค์ รองลงมาด้านการสื่อสาร รองลงมา ด้านวิสัยทัศน์ และน้อยที่สุด คือ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. แสดงผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อทักษะของผู้บริหารในศตวรรษ 21 ในสถานศึกษา กลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน จำแนกตามระดับการศึกษา พบว่า โดยภาพรวม และรายด้านไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 และจำแนกตามประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน พบว่า โดยภาพรวมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านวิสัยทัศน์ ด้านการสื่อสาร ด้านมนุษยสัมพันธ์ และด้านการคิดสร้างสรรค์ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 ส่วนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectทักษะth
dc.subjectผู้บริหารสถานศึกษาth
dc.subjectศตวรรษ 21th
dc.subjectSkillsen
dc.subjectSchool administratorsen
dc.subject21st centuryen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleEXECUTIVES SKILL IN THE 21ST CENTURY IN EDUCATION NETWORK TO PROMOTETHE EFFICIENCY OF EDUCATION MANAGEMENT IN SPECIAL EDUCATION CENTERSEDUCATIONAL AREAS IN 8 PROVINCES IN THE UPPER NORTHERN REGIONen
dc.titleทักษะของผู้บริหารในศตวรรษ 21 ในสถานศึกษา กลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 8จังหวัดภาคเหนือตอนบนth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
dc.contributor.coadvisorSunthon Khlal umen
dc.contributor.coadvisorสุนทร คล้ายอ่ำth
dc.contributor.emailadvisorsunthon.kh@up.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorsunthon.kh@up.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
65204614.pdf1.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.