Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1023
Title: TEACHER EMPOWERMENT OF ADMINISTRATORS IN SECONDARY SCHOOLS UNDER THE SECONDARY EDUCATION SERVICE AREA OFFICE CHIANG RAI
การเสริมสร้างพลังอำนาจครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงราย
Authors: Chiraporn Satsom
จีราภรณ์ สัตย์สม
Thararat Malaitao
ธารารัตน์ มาลัยเถาว์
University of Phayao
Thararat Malaitao
ธารารัตน์ มาลัยเถาว์
thararat.ma@up.ac.th
thararat.ma@up.ac.th
Keywords: การเสริมสร้างพลังอำนาจครู
Teacher Empowerment
Issue Date:  20
Publisher: University of Phayao
Abstract: The objectives of this research are. 1) To study the level of teacher empowerment in schools under the Chiang Rai Secondary Educational Service Area Office 2) To compare teacher empowerment in schools under the Chiang Rai Secondary Educational Service Area Office according to teachers' opinions, classified by level of education and work experience. The sample groups used in this research consisted of 311 teachers in schools under the Chiang Rai Secondary Educational Service Area Office. The questionnaire tool is a 5-level rating scale for estimation questions. The data is analyzed using basic statistics such as frequency, percentage, mean and standard deviation, testing the means of two independent sample groups and performing one-way analysis of variance. The research results revealed that. 1) The study of teachers' opinions regarding teacher empowerment in schools under the Chiang Rai Secondary Educational Service Area Office was overall at a high level. 2) Comparison of teacher empowerment in schools under the Chiang Rai Secondary Educational Service Area Office. According to teacher opinions classified by educational level, it was found that teachers with different educational levels There were no differences in opinions overall. When considering each aspect, it was found that the knowledge and information aspect and trustworthiness There were statistically significant differences in opinions. 3) Comparison of teacher empowerment in schools under the Chiang Rai Secondary Educational Service Area Office. According to the teacher opinion Categorized by work experience, it was found that teachers with different work experiences There were no differences in opinions overall. When considering each aspect,It was found that trust.There were different opinions: teachers with less than 5 years of work experience were significantly different from teachers with 10-15 years of work experience.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับการเสริมสร้างพลังอำนาจครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงราย 2) เพื่อเปรียบเทียบการเสริมสร้างพลังอำนาจครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงราย ตามความคิดเห็นของครู จำแนกตามระดับการศึกษาและประสบการณ์การทำงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงราย จำนวน 311 คน เครื่องมือได้แก่ แบบสอบถาม ลักษณะคำถามเป็นแบบประมาณค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าคะแนนเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่มีความเป็นอิสระต่อกัน และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1) การศึกษาการเสริมสร้างพลังอำนาจครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงราย ตามความคิดเห็นของครู ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) การเปรียบเทียบการเสริมสร้างพลังอำนาจครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงราย ตามความคิดเห็นของครู จำแนกตาม ระดับการศึกษา พบว่า ครูที่มีระดับการศึกษาแตกต่างกัน มีความคิดเห็นในภาพรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการให้ความรู้และสารสนเทศ และด้านการให้ความไว้วางใจ มีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3) การเปรียบเทียบการเสริมสร้างพลังอำนาจครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงราย ตามความคิดเห็นของครู จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน พบว่า ครูที่มีประสบการณ์การทำงานแตกต่างกัน มีความคิดเห็นในภาพรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการให้ความไว้วางใจมีความคิดเห็นแตกต่างกัน คือ ครูที่มีประสบการณ์การทำงานน้อยกว่า 5 ปี มีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับครูที่มีประสบการณ์การทำงาน 10–15 ปี
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1023
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
65170054.pdf3.4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.