Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1021
Title: Relationship between work motivation and organizational commitment of teachers in highland and remote areas. Under the jurisdiction of the Chiang Rai Primary Educational Service Area Office, Area 1
ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานกับความผูกพันองค์การของครูในเขตพื้นที่สูงและถิ่นทุรกันดาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 1
Authors: Konnika Chuamuangpan
กรนิกา เชื้อเมืองพาน
Watchara Jatuporn
วัชระ จตุพร
University of Phayao
Watchara Jatuporn
วัชระ จตุพร
watchara.ja@up.ac.th
watchara.ja@up.ac.th
Keywords: แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน,ความผูกพันองค์การ
Motivation for work
Organizational bonding
Issue Date:  20
Publisher: University of Phayao
Abstract: This study has the objectives: 1) To study teachers' motivation for their work. 2) To study teachers' organizational commitment. 3) To study the relationship between work motivation and organizational commitment of teachers in highland and remote areas. Under the jurisdiction of the Chiang Rai Primary Educational Service Area Office, Area 1. The sample groups used in this study include Teachers in highland and remote areas Under the jurisdiction of the Chiang Rai Primary Educational Service Area Office, Area 1, 105 people, a 5-level estimation scale questionnaire with a consistency index between 0.67-1.00 and The overall reliability of motivation questionnaire was 0.958. And the overall reliability of organizational commitment questionnaire was 0.907. Statistics used in data analysis include the mean, deviation. standard and Pearson correlation values. The research results found that 1) teachers' work motivation motivating factors and sustaining factors Overall, it is at a high level. 2) Overall teachers' organizational commitment is at a high level and 3) Work motivation and organizational commitment have a positive relationship at a moderate level.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู 2) ความผูกพันองค์การของครูและ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานกับความผูกพันองค์การของครูในเขตพื้นที่สูงและถิ่นทุรกันดาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 1  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ครูในเขตพื้นที่สูงและถิ่นทุรกันดาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 1 จำนวน 105 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ซึ่งมีค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.67-1.00 มีค่าความเชื่อมั่นเกี่ยวกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน เท่ากับ 0.958 และเกี่ยวกับความผูกพันองค์การ 0.907 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า 1 ) แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู ด้านปัจจัยจูงใจและปัจจัยค้ำจุน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) ความผูกพันองค์การของครูโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากและ 3) แรงจูงใจในการปฏิบัติงานกับความผูกพันองค์การมีความสัมพันธ์กันเชิงบวกอยู่ในระดับปานกลาง
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1021
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
65170010.pdf3.89 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.