Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1012
Title: | DEVELOPMENT CAREER SKILLS IN FOOD PROCESSINGACCORDING TO THE STEM EDUCATION APPROACHFOR STUDENTS OF ETHNIC GROUPS การพัฒนาทักษะอาชีพการแปรรูปอาหารตามแนวทางการเรียนรู้ แบบสะเต็มศึกษา สำหรับนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ |
Authors: | Wanithar Panyarsong วนิฐา ปัญญาส่อง Rungtiwa Kongson รุ่งทิวา กองสอน University of Phayao Rungtiwa Kongson รุ่งทิวา กองสอน rungtiwa.ko@up.ac.th rungtiwa.ko@up.ac.th |
Keywords: | การแปรรูปอาหาร การเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา ชาติพันธุ์ ทักษะอาชีพ Food Processing STEM learning Ethnic Career skills |
Issue Date: | 20 |
Publisher: | University of Phayao |
Abstract: | The aims of this research study were to: 1) Compare food processing career skills of ethnic students after receiving learning according to STEM learning guidelines on food processing using 70% criteria; 2) Compare academic achievement on food processing their before and after to the STEM education and 3) examine learning satisfaction after achieving the STEM education. This research was investigated in 13 students in Secondary 3 who belonged to the Mien and Hmong lineages by purposive sampling. The research instruments were: the instructional lesson plans on the food processing, career skill test, academic achievement test, and satisfaction questionnaire. Data analyses were performed using the mean and standard deviation. The Wilcoxon Signed-Ranks test was used to test the hypothesis. The results found that : 1) the ethnic students after learning by using STEM education showed a substantial improvement their career skills in food processing was higher than the assigned criterion of 70% at the .05 level of significance. 2) The ethnic students learning by using STEM education approach on food processing was achievement higher after studying than before learning at the .05 level of significance. The average score after learning was observed at (mean = 22.23, S.D.= 2.52)and the average score before learning at (mean = 16.85, S.D.= 4.18). 3) The ethnic students' satisfaction using STEM learning approaches, which the whole the high level of satisfaction (mean = 4.53, S.D = 0.14). การวิจัยครั้งมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบทักษะอาชีพการแปรรูปอาหารของนักเรียนกลุ่ม ชาติพันธุ์ หลังได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เรื่อง การแปรรูปอาหาร กับเกณฑ์ ร้อยละ 70 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การแปรรูปอาหาร ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ ตามแนวทางการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา สำหรับนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีต่อแนวทางการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เป็นกลุ่มชาติพันธุ์เมี่ยนและม้ง โดยเลือกอย่างเฉพาะเจาะจง จำนวน 13 คน เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แผนจัดการเรียนรู้ เรื่อง การแปรรูปอาหาร แบบวัดทักษะอาชีพ,แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบประเมินความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมุติฐานโดยใช้สถิติวิลคอกซัน (The Wilcoxon Signed-Ranks Test) ผลการวิจัย พบว่า 1) นักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์หลังจากได้รับการเรียนรู้ตามแนวทางการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษามีทักษะอาชีพการแปรรูปอาหารสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ที่จัดการเรียนรู้ตามแนวทางการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เรื่อง แปรรูปอาหาร มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียน (ค่าเฉลี่ย = 22.23, S.D.= 2.52) และก่อนเรียนมีคะแนนเฉลี่ย (ค่าเฉลี่ย = 16.85, S.D.= 4.18) 3) ความพึงพอใจของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีต่อแนวทางการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาทั้ง 4 ด้าน นักเรียนมีความพึงพอใจ มากที่สุด (ค่าเฉลี่ย = 4.53, S.D = 0.14) |
URI: | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1012 |
Appears in Collections: | School of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62206725.pdf | 2.66 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.