Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1004
Title: A MODEL FOR DEVELOPMENT COMPETENCIES FOR THEADMINITRATORS OF THE BUDDHIST SCRIPTURESCHOOLS ACCORDING TO THE PHILOSOPHYOF SUFFICIENCY ECONOMY
รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
Authors: Phongsatorn Pramuankran
พงศธร ประมวลการ
Sombat Noparak
สมบัติ นพรัก
University of Phayao
Sombat Noparak
สมบัติ นพรัก
sombat.no@up.ac.th
sombat.no@up.ac.th
Keywords: ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สมรรถนะผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม
Philosophy of Sufficiency Economy
Competencies for the Adminitrators of the Buddhist Scripture Schools
Issue Date:  15
Publisher: University of Phayao
Abstract: This research has the following objectives: 1) To study the competency of Phrapariyattham School administrators. According to the philosophy of Sufficiency Economy 2) to study guidelines for developing the competency of Phrapariyattidhamma School administrators 3) to create a model for developing competency for Phrapariyattidhamma School administrators and 4) to evaluate the model for developing competency for Phrapariyattidhamma School administrators. According to the philosophy of Sufficiency Economy, The research is divided into 4 steps: Step 1: Study of competency of Phrapariyattham School administrators. The tool used is a questionnaire regarding the competency of Phrapariyattham School administrators. Step 2: Guidelines for developing the competency of Phrapariyattham School administrators. The tool used was a semi-structured interview. Step 3: Creating a model for developing the competency of Phrapariyattham School administrators and examine the model by having a group discussion with 9 experts/person and step 4, evaluating the model for developing the competency of Phrapariyattham School administrators. The group of informants were 201 administrators of Phrapariyattham School. The tool used was a feasibility assessment model. and the usefulness of the format is a 5-level evaluation scale. Statistics used in the research include mean and standard deviation. The results of the research found that the competencies of Phrapariyattham School administrators consisted of 3 competencies, consisting of core competencies, line competencies. Personal competencies which is overall appropriate at a medium level. As for the guidelines for developing the competency of Phrapariyattidhamma School administrators, there are 5 steps: 1) the study of school administrators' competency (Searching: S) 2) the development planning stage (Planning: P) 3) Development action step (Doing: D) 4) Monitoring, inspecting and evaluating step (Checking: C) 5) Improvement and development step (Acting: A) The model for developing the competency of Phrapariyattitham School service providers consists of 5 elements. namely 1) principles and reasons 2) objectives 3) development issues 4) development guidelines 5) conditions for success and is at an appropriate level and the model for developing the competency of Phrapariyattham School administrators The feasibility and usefulness of the format are at a high level.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสมรรถนะผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม 3) เพื่อสร้างรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม และ 4) เพื่อประเมินรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การวิจัยแบ่งเป็น 4 ขั้นตอน ขั้นที่ 1 การศึกษาสมรรถนะผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับสมรรถนะผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม ขั้นที่ 2 แนวทางการพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม เครื่องมือ ที่ใช้เป็นแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง ขั้นที่ 3 การสร้างรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม และตรวจสอบรูปแบบโดยการสนทนากลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 รูป/คน และขั้นที่ 4 การประเมินรูปแบบ การพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม กลุ่มผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม จำนวน 201 รูป เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบประเมินความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ของรูปแบบ ซึ่งเป็นมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า สมรรถนะผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม มี 3 สมรรถนะ ประกอบด้วย สมรรถนะหลัก สมรรถนะประจำสายงาน สมรรถนะประจำตัวบุคคล ซึ่งมีความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับ ปานกลาง ส่วนแนวทางการพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม มี 5 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นการศึกษาสมรรถนะผู้บริหารโรงเรียน (Searching: S) 2) ขั้นการวางแผนการพัฒนา (Planning: P) 3) ขั้นการดำเนินการพัฒนา (Doing: D) 4) ขั้นติดตาม ตรวจสอบและประเมิน (Checking: C) 5) ขั้นปรับปรุงและพัฒนา (Acting: A) รูปแบบ การพัฒนาสมรรถนะผู้บริการโรงเรียนพระปริยัติธรรม ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ คือ 1) หลักการและเหตุผล 2) วัตถุประสงค์ 3) ประเด็นการพัฒนา 4) แนวทางการพัฒนา 5) เงื่อนไขสู่ความสำเร็จ และมีความเหมาะสม อยู่ในระดับ และรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม มีความเป็นได้และความเป็นประโยชน์ของรูปแบบ อยู่ในระดับ มาก
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1004
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61501148.pdf2.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.