Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/997
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Phorramatpanyaprat Tongprasong | en |
dc.contributor | ปรมัตถ์ปัญปรัชญ์ ต้องประสงค์ | th |
dc.contributor.advisor | Kosol Meekun | en |
dc.contributor.advisor | โกศล มีคุณ | th |
dc.contributor.other | University of Phayao | en |
dc.date.accessioned | 2024-06-05T15:13:59Z | - |
dc.date.available | 2024-06-05T15:13:59Z | - |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 20/5/2024 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/997 | - |
dc.description.abstract | This research aimed to 1) study the causal factors of the Ratanakosin Rajabhat University instructors’ achievement oriented and creative work, 2) analyze the priority group of instructors that should be developed first and the factors that should be supported, 3) examine an administrative model for developing of achievement oriented and creative work, and 4) evaluate an administrative model for developing of achievement oriented and creative work of the Ratanakosin Rajabhat University instructors. This research used a quantitative and qualitative mixed method. The sample consisted of 472 instructors from Ratanakosin Rajabhat University, obtained by stratified quota random sampling. The instruments of this research were: 1) the 11 sets of summated rating scales (6 scales) with IOC from .60 to 1.00, item-total correlation (r) from .226 to .890, and coefficient alpha reliabilities from .768 to .914, 2) interview form and 3) model evaluation forms. The statistics for hypothesis testing were: t-test, multiple regression analysis, and path analysis by method of structural equation modeling (SEM). The research results revealed that: 1) two groups of casual factors could predict more than 40%, and altogether they could explain 76.30 percentage of the achievement oriented and creative work; 2) there was a group of science, technology, and health science instructors who needed to be developed first, the significant contributing top three factors were: future orientation and self-control (traits and state), intention to work; 3) a causal factors model of instructors’ achievement oriented and creative work was confirmed with empirical data, the result of the explanation was at 83.7 percentage, and 4) an administrative model for developing of achievement oriented and creative work of the Ratanakosin Rajabhat University instructors. Experts' rating passed the criteria percentage of 70/75. Consequently, a model for the Ratanakosin Rajabhat University instructors was developed to enhance significant work competencies with an on-the-job training program. This research benefited the University board of committees, executives, educators, and stakeholders in developing instructors' achievement oriented and creative work. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุการทำงานมุ่งผลสัมฤทธิ์ร่วมกับการทำงานอย่างริเริ่มสร้างสรรค์ของอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์ 2) วิเคราะห์หากลุ่มอาจารย์ที่ควรได้รับการพัฒนาก่อนและปัจจัยส่งเสริม 3) ตรวจสอบรูปแบบปัจจัยเชิงสาเหตุการทำงานมุ่งผลสัมฤทธิ์ร่วมกับการทำงานอย่างริเริ่มสร้างสรรค์ และ 4) ประเมินรูปแบบการบริหารการพัฒนาการทำงานมุ่งผลสัมฤทธิ์ร่วมกับการทำงานอย่างริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้วิธีวิจัยแบบผสมเชิงปริมาณเสริมด้วยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์ จำนวน 472 คน ได้มาโดยการเลือกแบบแบ่งชั้นกำหนดสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้วัดในการวิจัย คือ 1) แบบวัดตัวแปร 11 แบบวัด ที่มีค่า IOC ตั้งแต่ .60 ถึง 1.00 มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อ (r-item total correration) ตั้งแต่ .226 ถึง .890 ค่าความเที่ยงคำนวณโดยวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟา (α) มีค่าตั้งแต่ .768 ถึง .914 2) แบบสัมภาษณ์ และ 3) แบบประเมินรูปแบบการบริหารการพัฒนา สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลคือ สถิติพื้นฐาน และสถิติอ้างอิง ใช้สถิติทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ สถิติทดสอบที การวิเคราะห์ถดถอยพหุคุณ การวิเคราะห์เส้นทางอิทธิพลโดยวิธีวิเคราะห์รูปแบบสมการเชิงโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่มตัวแปรปัจจัยเชิงสาเหตุด้านจิตลักษณะ (เดิม) ของบุคคล และจิตลักษณะตามสถานการณ์ร่วมกันอธิบายการทำงานได้ร้อยละ 76.30 ซึ่งอธิบายได้มากกว่าร้อยละ 40 2) กลุ่มที่ควรได้รับการพัฒนาก่อน คือ อาจารย์ที่สังกัดกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์สุขภาพ โดยมีปัจจัยส่งเสริมที่สำคัญ 3 ประการ คือ ลักษณะมุ่งอนาคตและควบคุมตน ความตั้งใจในการทำงาน และลักษณะมุ่งอนาคตและควบคุมตนต่อการทำงาน 3) รูปแบบปัจจัยเชิงเหตุของการทำงานมุ่งผลสัมฤทธิ์ร่วมกับการทำงานอย่างริเริ่มสร้างสรรค์มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ สามารถอธิบายการทำงานมุ่งผลสัมฤทธิ์ร่วมกับการทำงานอย่างริเริ่มสร้างสรรค์ได้ร้อยละ 83.70 และ 4) รูปแบบการบริหารการพัฒนาการทำงานมุ่งผลสัมฤทธิ์ร่วมกับการทำงานอย่างริเริ่มสร้างสรรค์ของอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์ที่ประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิ มีค่าเฉลี่ยรายด้านและโดยภาพรวมสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70/75 ทำให้เชื่อมั่นได้ว่ารูปแบบการบริหารการพัฒนาการทำงานมุ่งผลสัมฤทธิ์ร่วมกับการทำงานอย่างริเริ่มสร้างสรรค์ของอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏ สามารถนำไปใช้ปฏิบัติได้จริง ผลการวิจัยนี้เป็นประโยชน์ต่อผู้บริหาร ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการทำงานของอาจารย์ และนักวิชาการหรืออาจารย์ที่สนใจการพัฒนาตนด้านการทำงาน | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | รูปแบบการบริการการพัฒนาการทำงานมุ่งผลสัมฤทธิ์ | th |
dc.subject | การทำงานอย่างริเริ่มสร้างสรรค์ | th |
dc.subject | พฤติกรรมการทำงาน | th |
dc.subject | administrative model for developing achievement oriented | en |
dc.subject | creative work | en |
dc.subject | work behavior | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Sociology and cultural studies | en |
dc.title | ADMINISTRATIVE MODEL FOR DEVELOPING ACHIEVEMENT ORIENTED AND CREATIVE WORK OF THE RATANAKOSIN RAJABHAT UNIVERSITY INSTRUCTORS | en |
dc.title | รูปแบบการบริหารการพัฒนาการทำงานมุ่งผลสัมฤทธิ์ร่วมกับการทำงานอย่างริเริ่มสร้างสรรค์ของอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์ | th |
dc.type | Dissertation | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Kosol Meekun | en |
dc.contributor.coadvisor | โกศล มีคุณ | th |
dc.contributor.emailadvisor | kosol.me@up.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | kosol.me@up.ac.th | |
dc.description.degreename | Doctor of Philosophy (Ph.D (Educational Administration)) | en |
dc.description.degreename | การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด. (การบริหารการศึกษา)) | th |
dc.description.degreelevel | Doctoral Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาเอก | th |
dc.description.degreediscipline | Educational Administration | en |
dc.description.degreediscipline | การบริหารการศึกษา | th |
Appears in Collections: | School of Management and Information Sciences |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
61162297.pdf | 3.44 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.