Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/996
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Nisachol Thokaew | en |
dc.contributor | นิศาชล โทแก้ว | th |
dc.contributor.advisor | Nuttharin Pariwongkhuntorn | en |
dc.contributor.advisor | ณัฐรินทร์ ปริวงศ์กุลธร | th |
dc.contributor.other | University of Phayao | en |
dc.date.accessioned | 2024-06-05T15:13:59Z | - |
dc.date.available | 2024-06-05T15:13:59Z | - |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 20/5/2024 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/996 | - |
dc.description.abstract | This study aimed to 1) analyze the context of wellness tourism management of Rai Sodsai herbal community; 2) study the circumstances and limitations of wellness tourism management in the operational area; and 3) provide wellness tourism management in the operational area. Qualitative research including process of participatory action research and in-depth interview was used in the study. The participants of the study consisted of 34 key informants and 15 volunteers, who participated in the pilot project. The information from the participants was used as guidelines to create wellness tourism management in the operational area. The results found that Dong Bang Village was a strong village and was able to promote community’s development along with wellness tourism management simultaneously. Furthermore, the village continually received development and promotion from the government agencies. Concerning the wellness tourism management in the operational area, it was found that the wellness tourism should be promoted. Since Maha Sarakham province is a herbal city, yet local people are not aware of it, the promotion of activities regarding wellness tourism in the province might help create awareness among people in the area. Therefore, the pilot project was created according to the process of participatory action research and in-depth interview. The arranged traveling project included 5 dimensions of wellness, which are physical wellness, psychological wellness, social wellness, spiritual wellness, and emotional wellness. In addition, the project covered Destination Fascination Scale Model (DFS Model) including mystique, attractiveness, richness, uniqueness, fitness, friendliness; and the five senses, which are hearing, sight, smell, taste, and touch. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่อง การจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ กรณีศึกษา ชุมชนสมุนไพรไร่สดใส ตำบลแคน อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์บริบทการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของพื้นที่ชุมชนสมุนไพรต้นแบบ ศึกษาสถานการณ์และข้อจำกัดการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของพื้นที่ชุมชนปฏิบัติการ และนำเสนอการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในพื้นที่ปฏิบัติการวิจัย โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัย เชิงคุณภาพ ซึ่งเป็นกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติแบบมีส่วนร่วมและการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยแบ่งเป็นกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 34 คน และนักท่องเที่ยวอาสาสมัครที่เข้าร่วมกิจกรรมการทดลองท่องเที่ยวนำร่อง จำนวน 15 คน เพื่อนำข้อมูลมาเป็นแนวทางในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพให้กับพื้นที่ปฏิบัติ ผลการวิจัยพบว่า หมู่บ้านดงบังเป็นหมู่บ้านที่มีความเข้มแข็งและสามารถพัฒนาชุมชนควบคู่ไปกับการบริหารจัดการด้านการท่องเที่ยวสุขภาพ ได้เป็นอย่างดี รวมทั้งได้รับการพัฒนาและส่งเสริมจากหน่วยงานภาครัฐอย่างต่อเนื่อง ส่วนสถานการณ์การจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในภาพรวมของพื้นที่ปฏิบัติการวิจัยพบว่า สถานการณ์การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพควรได้รับการสนับสนุนเป็นอย่างมาก เพราะจังหวัดมหาสารคามเป็นเมืองสมุนไพร แต่ประชาชนยังไม่เกิดการรับรู้ในคำว่า เมืองสมุนไพรมากนัก หากสนับสนุนให้เกิดกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในจังหวัดมหาสารคาม อาจจะช่วยให้เกิดการรับรู้มากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวนำร่องจากโปรแกรมการท่องเที่ยวทดลอง ที่คนในชุมชนได้จัดทำขึ้นตามกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมและแนวคิดการมีส่วนร่วมของชุมชน ซึ่งโปรแกรมการท่องเที่ยวนี้ได้รูปแบบกิจกรรมที่ตรงตามกรอบแนวคิดทฤษฎีที่ผู้วิจัยได้กำหนดไว้ครบทุกด้าน คือ มิติสุขภาพดี 5 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย จิตใจ สังคม ทางจิตวิญญาณ อารมณ์ ทฤษฎีการสร้างความหลงใหล ให้แก่แหล่งท่องเที่ยว ได้แก่ ความขลัง ความดึงดูดใจ ความอุดม ความเป็นเอกลักษณ์ ความเหมาะสมลงตัว ความเป็นมิตร และประสาทสัมผัสทั้ง 5 ได้แก่ การได้ยิน มองเห็น ได้กลิ่น ได้ชิม และได้สัมผัส | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | การจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ | th |
dc.subject | ชุมชนสมุนไพร | th |
dc.subject | Wellness Tourism Management | en |
dc.subject | Herbal Community | en |
dc.subject.classification | Business | en |
dc.subject.classification | Human health and social work activities | en |
dc.subject.classification | Travel, tourism and leisure | en |
dc.title | Wellness Tourism Management: A Case Study of Rai Sodsai Herbal Community, Khaen Subdistrict, Wapi Pathum DistrictMaha Sarakham Province | en |
dc.title | การจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ กรณีศึกษา ชุมชนสมุนไพรไร่สดใสตำบลแคน อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม | th |
dc.type | Dissertation | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Nuttharin Pariwongkhuntorn | en |
dc.contributor.coadvisor | ณัฐรินทร์ ปริวงศ์กุลธร | th |
dc.contributor.emailadvisor | un_murda@hotmail.com | |
dc.contributor.emailcoadvisor | un_murda@hotmail.com | |
dc.description.degreename | Doctor of Philosophy (Ph.D. (Tourism and Hotel Management)) | en |
dc.description.degreename | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด. (การจัดการการท่องเที่ยวและโรงแรม)) | th |
dc.description.degreelevel | Doctoral Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาเอก | th |
dc.description.degreediscipline | Tourism and Hotel Management | en |
dc.description.degreediscipline | การจัดการการท่องเที่ยวและโรงแรม | th |
Appears in Collections: | School of Management and Information Sciences |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
61162163.pdf | 8.02 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.