Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/972
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorMayures Seangsawangen
dc.contributorมยุเรศ แสงสว่างth
dc.contributor.advisorKEAWARIN JANDUMen
dc.contributor.advisorเกวรินทร์ จันทร์ดำth
dc.contributor.otherUniversity of Phayaoen
dc.date.accessioned2024-06-05T15:08:55Z-
dc.date.available2024-06-05T15:08:55Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued20/5/2024
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/972-
dc.description.abstractThis research aims to: first, to gather data on traditional and adapted textile patterns among indigenous groups; and second and study the factors influencing satisfaction in designing textile patterns by oneself among indigenous fabric consumers. The sample group was selected using W.G. Cochran's formula for unknown population size, with a significance level of 0.05 and a confidence level of 95%. The research tool used was the Index of Item Objectives Congruence (IOC), with a reliability coefficient of 0.85, along with statistical analyses including percentage, mean, standard deviation, linear regression analysis, and multiple linear regression. The findings revealed that the factors influencing the purchase of indigenous fabric products include the collection of 19 traditional and 4 adapted textile patterns, which symbolize auspicious meanings and reflect adaptation to contemporary trends. Additionally, it promotes marketing suitability by incorporating these patterns into new indigenous fabric products. Regarding the factors influencing the purchase of indigenous fabric products via www.pyhill.com, the ability to design textile patterns oneself had the highest impact on user satisfaction with the system, followed by product uniqueness, outstanding design, and trust in the product delivery system. All these findings were statistically significant at the 95% confidence level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) รวบรวมข้อมูลอัตลักษณ์ลวดลายแบบดั้งเดิมและแบบประยุกต์บนผ้าชนเผ่า และ 2) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการออกแบบลวดลายด้วยตนเองบนผ้าชนเผ่า กลุ่มตัวอย่างเพื่อนำมาศึกษาใช้วิธีสุ่ม จากกลุ่มบุคคลผู้ใช้บริการระบบการออกแบบลวดลายด้วยตนเองลงบนผืนผ้าชนเผ่า อย่างน้อย 1 ครั้ง ซึ่งไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน ดังนั้น ผู้วิจัยจึงใช้วิธีการกำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรการคำนวณของ W.G. Cochran (1953) แบบไม่ทราบจำนวนประชากร ที่มีค่านัยสำคัญที่ 0.05 และค่าความเชื่อมั่น 95% เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบประเมิน หาค่าความสอดคล้องระหว่างคำถามและวัตถุประสงค์ ด้วยดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item Objectives Congruence : IOC) ได้ค่าความเที่ยงตรงใช้ได้ที่ 0.85 และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์หาค่าความสัมพันธ์ปัจจัย Linear Regression Analysis และ Multiple Linear Regression      ผลวิจัยพบว่า ปัจจัยของการออกแบบลวดลาย ที่ส่งผลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ผ้าชนเผ่า มีการศึกษารวบรวมลวดลายผ้าแบบดั้งเดิม จำนวน 19 ลวดลาย และลวดลายประยุกต์ จำนวน 4 ลวดลาย ซึ่งเป็นลวดลายที่มีความหมายเป็นสิริมงคล และสื่อให้เห็นถึงการปรับตัวให้เข้ากับยุคสมัยในปัจจุบัน อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมการตลาดให้เหมาะสมกับการนำลวดลายไปใช้บนผลิตภัณฑ์ผ้าชนเผ่าแบบใหม่ นอกจากนี้ ในส่วนของปัจจัยของการออกแบบลวดลายที่ส่งผลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ผ้าชนเผ่า ผ่านระบบwww.pyhill.com ด้านการสามารถออกแบบลวดลายผลิตภัณฑ์ผ้าชนเผ่าด้วยตนเอง ส่งผลต่อความพึงพอใจการใช้งานระบบฯ ในระดับมากที่สุด รองลงมาผลิตภัณฑ์ที่ออกแบบไม่ซ้ำกับผลิตภัณฑ์ในท้องตลาด ผลิตภัณฑ์ที่ออกแบบมีความโดดเด่นและมีอัตลักษณ์ของชนเผ่า และความน่าเชื่อถือในระบบการจัดส่งผลิตภัณฑ์สินค้าPRE-ORDER ตามลำดับ มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในระดับความเชื่อมั่นที่ร้อยละ 95th
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectออกแบบลวดลาย ชนเผ่าth
dc.subjectPattern Design Ethnicen
dc.subject.classificationComputer Scienceen
dc.subject.classificationProfessional, scientific and technical activitiesen
dc.titleFactors of pattern design affecting ethnic fabrics product acquirementen
dc.titleปัจจัยของการออกแบบลวดลาย ที่ส่งผลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ผ้าชนเผ่าth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorKEAWARIN JANDUMen
dc.contributor.coadvisorเกวรินทร์ จันทร์ดำth
dc.contributor.emailadvisorkaewarin.ja@up.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorkaewarin.ja@up.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Science Program (M.Sc. (Modern Information Technology Management))en
dc.description.degreenameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม. (การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineModern Information Technology Managementen
dc.description.degreedisciplineการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่th
Appears in Collections:School of Information and Communication Technology

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62023452.pdf6.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.