Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/949
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorArnut Liamkaewen
dc.contributorอาณัติ เหลี่ยมแก้วth
dc.contributor.advisorNamngern Chantaramaneeen
dc.contributor.advisorน้ำเงิน จันทรมณีth
dc.contributor.otherUniversity of Phayaoen
dc.date.accessioned2024-02-22T09:48:44Z-
dc.date.available2024-02-22T09:48:44Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued4/3/2024
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/949-
dc.description.abstractThe purposes of this Cross-sectional Studies were to (1) study health literacy and health behaviors, (2) study factors related to health behaviors, and (3) study predicting factors of workers’ health behaviors in industrial and service sectors, Chiang Rai Province. The samples were workers in industrial and service enterprises residing in Chiang Rai Province. The samples were enrolled by Multi-stage Sampling of 175 workers. The data collection was conducted through the use of questionnaires. Cronbach Alpha Coefficient was 0.78 and Kuder-Richardson Reliability was 0.88. Data was analyzed using descriptive statistics, the correlation was analyzed using Chi-square and Pearson’s correlations. The predictive factors were analyzed using stepwise multiple regression. The results revealed that (1) overall health literacy ( x̄ = 42.73, S.D = 7.43) and overall health behavior ( x̄ = 19.73, S.D = 4.24) were at a fair level. (2) The analysis of the relationship between personal factors found that age, and income were significantly related to health behavior. The analysis of the relationship between health literacy and health behavior significantly revealed that cognitive, access, communication skill, self-management, and media literacy were a positive correlation with health behavior, and (3) the analysis of factors predicting health behavior revealed that self-management (R Square = 0.35, b = 0.56), age (R Square = 0.41, b = 0.15) and media literacy (R Square  = 0.46, b = 0.57) can predict workers’ health behaviors in industrial and service sectors, Chiang Rai Province (R2 = 0.45, p ≤ 0.01).en
dc.description.abstractการศึกษานี้เป็นการวิจัยภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์ เพื่อ (1) ศึกษาความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ (2) ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพ และ (3) ศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมสุขภาพของแรงงานในสถานประกอบการภาคอุตสาหกรรมและบริการจังหวัดเชียงราย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เป็นแรงงานในสถานประกอบการภาคอุตสาหกรรมและบริการ จังหวัดเชียงราย ที่ได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน จำนวน 175 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถาม ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาช เท่ากับ 0.78 และ ค่าความเชื่อมั่นด้านความรู้ เท่ากับ 0.88 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา วิเคราะห์หาความสัมพันธ์โดยใช้สถิติทดสอบไค-สแควร์ สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์ปัจจัยทำนายโดยใช้สถิติการวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบขั้นตอน ผลการวิจัย (1) ความรอบรู้ด้านสุขภาพในภาพรวม ( x̄ = 42.73, S.D = 7.43) และพฤติกรรมสุขภาพในภาพรวม ( x̄ = 19.73, S.D = 4.24) อยู่ในระดับพอใช้ (2) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า อายุและรายได้มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพกับพฤติกรรมสุขภาพ พบว่า ความรู้ความเข้าใจทางด้านสุขภาพ  การเข้าถึงข้อมูลและบริการสุขภาพ การสื่อสารสุขภาพ การจัดการตนเองและการรู้เท่าทันสื่อ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับพฤติกรรมสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และ (3) การวิเคราะห์ปัจจัยทำนายพฤติกรรมสุขภาพ พบว่า การจัดการตนเอง อายุและการรู้เท่าทันสื่อ สามารถร่วมทำนายพฤติกรรมสุขภาพของแรงงานในสถานประกอบการภาคอุตสาหกรรมและบริการ จังหวัดเชียงรายได้ (R2 = 0.45, p ≤ 0.01)th
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectความรอบรู้ด้านสุขภาพth
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพth
dc.subjectวัยทำงานth
dc.subjecthealth literacyen
dc.subjecthealth behavioursen
dc.subjectworking ageen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.subject.classificationHuman health and social work activitiesen
dc.subject.classificationNursing and caringen
dc.titleFactors predicting health behavior of workers among industrial and service enterprises, Chiang Rai provinceen
dc.titleปัจจัยทำนายพฤติกรรมสุขภาพของแรงงานในสถานประกอบการ ภาคอุตสาหกรรมและบริการ จังหวัดเชียงรายth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
dc.contributor.coadvisorNamngern Chantaramaneeen
dc.contributor.coadvisorน้ำเงิน จันทรมณีth
dc.contributor.emailadvisornamngern.ch@up.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisornamngern.ch@up.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.description.degreenameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineen
dc.description.degreedisciplineth
Appears in Collections:คณะสาธารณสุขศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64224604.pdf2.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.