Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/947
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSawittree Thakkhamen
dc.contributorสาวิตตรี เติกคำth
dc.contributor.advisorTaweewun Srisookkumen
dc.contributor.advisorทวีวรรณ ศรีสุขคำth
dc.contributor.otherUniversity of Phayaoen
dc.date.accessioned2024-02-22T09:48:43Z-
dc.date.available2024-02-22T09:48:43Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued4/3/2024
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/947-
dc.description.abstractThe purpose of this cross-sectional study was to investigate the factors related to self-care behaviors of people in Tambon Kluang Chiang Khong District, Chiang Rai Province. The study included 265 people aged 18 and up who had COVID-19 and were chosen at random using Multi-Stage Cluster Sampling. A questionnaire was used, and data were gathered between December 1, 2022 and January 31, 2023. Descriptive statistics and inferential statistics such as the Chi-Square test and Spearman's rank correlation were used to analyze the data. The majority of the subjects were female, 49 years old, married, and have graduated from elementary school. They earn an average of 6,288.17 baht and the majority of them have no underlying disease and have never had surgery. Long COVID-19 was found in 59.6 % of the samples. Education level (p-value 0.05), Long COVID-19 (r = -0.192), self-care perception (r = 0.625), self-care attitude (r = 0.623), access to public health services (r = 0.630), social support (r = 0.597), and health literacy about COVID-19 (r = 0.632) were statistically significant factors related to self-care behavior after being infected with COVID-19. As a result, The findings should be used by health care facilities to develop promotion activities and health care measures for people living with COVID-19.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นวิจัยภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรม การดูแลตนเองของประชาชนหลังติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในตำบลครึ่ง อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย กลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนหลังติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อายุ 18 ปีขึ้นไป จำนวน 265 คน โดยทำวิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้เป็น แบบสอบถามซึ่งเก็บรวบรวมระหว่างวันที่ 1 ธันวาคม 2565-31 มกราคม 2566 วิเคราะห์ ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ สถิติไคว์สแคว์ และสหสัมพันธ์สเปียร์แมนแรงค์ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อยู่ในกลุ่มอายุ 49 ปี มีสถานภาพสมรส จบการศึกษาระดับการศึกษาชั้นประถมศึกษา มีรายได้เฉลี่ย 6,288.17 บาท ส่วนใหญ่ไม่มี โรคประจำตัวและไม่เคยมีประวัติผ่าตัด กลุ่มตัวอย่างพบอาการหลงเหลือหลังติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 ร้อยละ 59.6 สำหรับปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง หลังติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ระดับการศึกษา (p-value < 0.05) อาการหลงเหลือหลังติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (r = -0.192)การรับรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพตนเอง (r = 0.652) ทัศนคติในการดูแลสุขภาพตนเอง (r = 0.623) การเข้าถึงบริการสาธารณสุข (r = 0.630) การได้รับแรงสนับสนุนทางสังคม (r = 0.597)  ความรอบรู้ด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (r = 0.632) ดังนั้นหน่วยงานด้านสุขภาพควรนำผลการวิจัยไปใช้ในการกำหนดมาตรการ ส่งเสริมและการดูแลสุขภาพสำหรับประชาชนที่ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019th
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019th
dc.subjectพฤติกรรมการดูแลสุขภาพth
dc.subjectCoronavirus disease 2019en
dc.subjectSelf-care behavioren
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.subject.classificationHuman health and social work activitiesen
dc.subject.classificationNursing and caringen
dc.titleFactors Related to Self-Care Behaviors who Infected COVID-19 at Khrueng Sub-district, Chiang Khong District, Chiang Rai Provinceen
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของประชาชน หลังติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ตำบลครึ่ง อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงรายth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
dc.contributor.coadvisorTaweewun Srisookkumen
dc.contributor.coadvisorทวีวรรณ ศรีสุขคำth
dc.contributor.emailadvisortaweewun.ch@up.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisortaweewun.ch@up.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.description.degreenameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineen
dc.description.degreedisciplineth
Appears in Collections:คณะสาธารณสุขศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64224570.pdf1.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.