Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/942
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Jaruwan Roongrueang | en |
dc.contributor | จารุวรรณ รุ่งเรือง | th |
dc.contributor.advisor | Taweewun Srisookkum | en |
dc.contributor.advisor | ทวีวรรณ ศรีสุขคำ | th |
dc.contributor.other | University of Phayao | en |
dc.date.accessioned | 2024-02-22T09:48:43Z | - |
dc.date.available | 2024-02-22T09:48:43Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 29/5/2023 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/942 | - |
dc.description.abstract | The cross-sectional study investigated long-term Coronavirus disease 2019 health literacy, perceived Coronavirus disease 2019, social support, self-management behavior, and associated and predicted factors for self-management behavior among Coronavirus disease 2019 infected VHVs, in Nanoi District, Nan Province. 132 VHVs that infected Coronavirus disease 2019 were selected by multi-stage cluster sampling. The instrument was a questionnaire which collected during November 1-15, 2022. The data were analyzed using descriptive analysis, the Chi-square test, Spearman's rank, and enter method of binary logistic regression. With a mean age of 49.17 years, the majority of the sample (83.33%) was female; 43.18% of samples were high school graduates; 74.24 months of agriculture; a monthly income of 7,313.63 baths; and 12.73 years of VHV experience. Long COVID symptoms were present in 86.36% of the samples. Health literacy, perception, social support and self-management behavior of Coronavirus disease 2019 were high level. Sex (p-value < 0.05) was associated with self-management behavior, health literacy, social support, perceived of Coronavirus disease 2019, and years of experience with VHVs were all positively significant (r = .480, r = .377, r = .225, and r = .181). Health literacy was the factor that influenced self-management behavior in Coronavirus disease 2019 (OR = 1.180, 95% CI = 1.040-1.340). As a result, health care facilities should establish activities and measurements on health literacy for establishing VHVs in the research area. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยแบบภาคตัดขวางนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลส่วนบุคคล ความรอบรู้ด้านสุขภาพ การรับรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 แรงสนับสนุนทางสังคม พฤติกรรมการจัดการ ตนเองและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการจัดการตนเองของ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านหลังติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน กลุ่มตัวอย่างเป็นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านหลังติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จำนวน 132 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม ซึ่งเก็บ ข้อมูลระหว่างวันที่ 1-15 พฤศจิกายน 2565 วิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงพรรณนา การทดสอบไคสแควร์ สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน และการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกโดยใช้ วิธีการ Enter ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 83.33 มีอายุเฉลี่ย 49.17 ปี จบมัธยมศึกษาตอนปลาย ร้อยละ 43.18 มีอาชีพเกษตรกรรม ร้อยละ 74.24 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 7,313.63 บาท มีระยะเวลาในการเป็น อสม. โดยเฉลี่ย 12.73 ปี และมีอาการหลงเหลือหลังติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 ร้อยละ 86.36 กลุ่มตัวอย่างมีความรอบรู้ด้านสุขภาพในช่วงวิกฤตโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 การรับรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และแรงสนับสนุนทางสังคม เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และพฤติกรรมการจัดการตนเอง อยู่ในระดับสูง สำหรับปัจจัย ที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการจัดการตนเองหลังติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้แก่ เพศ (p < 0.05) ความรอบรู้ในวิกฤติโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 การรับรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และแรงสนับสนุนทางสังคมเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และระยะเวลาในการเป็น อสม. (r = .480, r = .377, r = .225 และ r = .181) สำหรับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการจัดการตนเอง หลังติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้แก่ ความรอบรู้ในวิกฤติโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (OR = 1.180, 95% CI = 1.040-1.340) ดังนั้นหน่วยงานด้านสุขภาพควรมีกำหนดกิจกรรมและมาตรการความรอบรู้ ด้านสุขภาพเพื่อเพิ่มศักยภาพและความสามารถให้ อสม. ในพื้นที่ศึกษาต่อไป | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 | th |
dc.subject | อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน | th |
dc.subject | พฤติกรรมการจัดการตนเอง | th |
dc.subject | Covid-19 | en |
dc.subject | Village Health Volunteer | en |
dc.subject | Self-management behavior | en |
dc.subject.classification | Health Professions | en |
dc.subject.classification | Human health and social work activities | en |
dc.subject.classification | Nursing and caring | en |
dc.title | Factors Influencing Self-Management Behavior Among Village HealthVolunteers who infected Covid-19 in Nanoi District, Nan Province | en |
dc.title | ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการจัดการตนเองของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านหลังติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง | th |
dc.contributor.coadvisor | Taweewun Srisookkum | en |
dc.contributor.coadvisor | ทวีวรรณ ศรีสุขคำ | th |
dc.contributor.emailadvisor | taweewun.ch@up.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | taweewun.ch@up.ac.th | |
dc.description.degreename | Master of Public Health (M.P.H.) | en |
dc.description.degreename | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | en | |
dc.description.degreediscipline | th | |
Appears in Collections: | คณะสาธารณสุขศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
64224378.pdf | 3.88 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.