Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/940
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Suchawadee Namnai | en |
dc.contributor | สุชาวดี นามนาย | th |
dc.contributor.advisor | PRACHUAB LAMLUK | en |
dc.contributor.advisor | ประจวบ แหลมหลัก | th |
dc.contributor.other | University of Phayao | en |
dc.date.accessioned | 2024-02-22T09:48:43Z | - |
dc.date.available | 2024-02-22T09:48:43Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 16/10/2023 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/940 | - |
dc.description.abstract | Hypoglycemia is a severe complication condition and is usually found in elderly patients with diabetes. The research was quasi-experimental, two-group study, aimed at the efficiency of motivational program on prevention risk behavior of Hypoglycemia in type 2 diabetic patients. The sample were 50 elderly patients with type 2 diabetes; 25 experimental group and 25 comparison group those were selected by purposive sampling. The experimental group received an 8-week motivational program on prevention. The statistics used were percentage, mean, Standard Deviation, repeated measures ANOVA and Independent t-test. The finding of this research, the sample have a mean score in perceived noxiousness, perceived probability and response efficacy in prevention of Hypoglycemia, found that patients, who received motivational program on prevention risk behavior of Hypoglycemia in type 2 diabetes, have a significant higher mean score than before receiving the program and also higher than the comparative group (p < .001). Moreover, the patients who are currently undergoing the program have a significant higher mean score of self-regulated prevention of Hypoglycemia than before receiving the program (p < .001). The results of this study suggested that public health worker should use this program for enhancing type 2 diabetic patients’ perceive, response efficacy and prevention risk behavior. | en |
dc.description.abstract | ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำเป็นภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงและพบได้บ่อยในผู้สูงอายุโรคเบาหวาน การวิจัย กึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการเสริมสร้างแรงจูงใจในการป้องกันพฤติกรรม เสี่ยงต่อภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในกลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยเบาหวานชนิด ที่ 2 ในกลุ่มผู้สูงอายุจำนวน 50 คน กลุ่มทดลองจำนวน 25 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ จำนวน 25 คน โดยการสุ่ม กลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (purposive sampling) กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการเสริมสร้างแรงจูงใจ ในการป้องกัน เป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Repeated measures ANOVA และ Indeprndent t-test ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ความรุนแรง การรับรู้โอกาสเสี่ยง ความคาดหวังในประสิทธิผลของการตอบสนอง ในการป้องกันภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำมากกว่าก่อนการทดลอง และมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (p < 0.001) คะแนน การกำกับพฤติกรรมตนเองในการป้องกันภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำของกลุ่มทดลอง ระยะติดตามผลมากกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.001) จากผลการวิจัยผู้วิจัยจึงเสนอแนะว่าเจ้าหน้าที่สาธารณสุขควรนำโปรแกรมไปใช้ในการพัฒนาการรับรู้ ความคาดหวัง และพฤติกรรมของผู้ป่วย ให้เหมาะสม | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | โปรแกรมการเสริมสร้างแรงจูงใจ, ภาวะน้ำตาลต่ำ, พฤติกรรมเสี่ยง, ผู้ป่วยเบาหวานในกลุ่มผู้สูงอายุ | th |
dc.subject | Motivational program Hypoglycemia Risk behavior Elderly patients with diabetes | en |
dc.subject.classification | Health Professions | en |
dc.subject.classification | Human health and social work activities | en |
dc.title | The effectiveness of motivational Enhancing program for preventing hypoglycemia risk behavior among patients with type 2 diabetes mellitus in the elderly, Fang Kwang sub-district, Chiang Kham district, Phayao province | en |
dc.title | ประสิทธิผลของโปรแกรมการเสริมสร้างแรงจูงใจในการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงต่อภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในกลุ่มผู้สูงอายุ ตำบลฝายกวาง อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | PRACHUAB LAMLUK | en |
dc.contributor.coadvisor | ประจวบ แหลมหลัก | th |
dc.contributor.emailadvisor | prachuab.la@up.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | prachuab.la@up.ac.th | |
dc.description.degreename | Master of Public Health (M.P.H.) | en |
dc.description.degreename | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | en | |
dc.description.degreediscipline | th | |
Appears in Collections: | คณะสาธารณสุขศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
64224334.pdf | 3.6 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.