Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/937
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Angkana Songkhlou | en |
dc.contributor | อังคณา สงเคราะห์ | th |
dc.contributor.advisor | RAKSI KIATTIBUTRA | en |
dc.contributor.advisor | รักษ์ศรี เกียรติบุตร | th |
dc.contributor.other | University of Phayao | en |
dc.date.accessioned | 2024-02-14T15:13:30Z | - |
dc.date.available | 2024-02-14T15:13:30Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 29/5/2023 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/937 | - |
dc.description.abstract | The study aimed to investigate the relationship between work from home and organizational culture among supportive staff of School of Health Science, University of Phayao, to provide guidelines for work from home that fosters the organizational culture of supporting staff of School of Health Science, University of Phayao. This was quantitative. Thereby, Taro Yamane's technique was used to choose a sample of 160 participants from the supportive staff at the School of Health Science. The questionnaire was gathered using a simple randomized procedure. Frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test, and Pearson's correlation were the statistical tools utilized to examine data. The results showed that most respondents were female aged between 31-40 years with position of operational staff and working duration was 6-10 years. The staff with difference in gender, age and position did not affect the organizational culture. Findings found according to objective 1) indicated that work from home was related to the organizational culture with positive moderate level at the significance level of 0.01. According to objective 2) guidelines for work from home that promoted organizational culture were as follows: 1) the organization should support and encourage personnel to develop more knowledge and capabilities as well as training them how to work from home to create a good and appropriate corporate culture for personnel, 2) mental and physical health professionals by organizing online discussion activities, teamwork, rewards to boost mental health and morale should be developed, 3) the organization's technology and information system should also be more efficiently developed consistent to work from home. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสัมพันธ์ของรูปแบบการปฏิบัติงานที่บ้านกับวัฒนธรรมองค์กรของบุคลากรสายสนับสนุน กลุ่มคณะด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยพะเยา 2) จัดทำแนวทางการปฏิบัติงานที่บ้านที่เสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรของบุคลากรสายสนับสนุน กลุ่มคณะด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยพะเยา เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ศึกษาคือ บุคลากรสายสนับสนุนกลุ่มคณะด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ จำนวน 160 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีของทาโร่ ยามาเน่ เก็บแบบสอบถามโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย ใช้สถิติ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test, F-test และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 31–40 ปี ตำแหน่งงานเป็นพนักงานระดับปฏิบัติการ และอายุการทำงาน 6-10 ปี ทั้งนี้บุคลากร ที่มีเพศ อายุ ตำแหน่งงาน และอายุการทำงาน ต่างกันมีความสัมพันธ์กับวัฒนธรรมองค์กรไม่แตกต่างกัน ผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 1) รูปแบบการปฏิบัติงานที่บ้านมีความสัมพันธ์กับวัฒนธรรมองค์กรของบุคลากรสายสนับสนุน กลุ่มคณะด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยพะเยา เชิงบวกในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 2) แนวทางการปฏิบัติงานที่บ้านที่เสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร ได้แก่ 1) องค์กรควรสนับสนุนและส่งเสริมให้บุคลากรได้พัฒนาความรู้และความสามารถการใช้เทคโนโลยีและแอปพลิเคชันให้เพิ่มมากขึ้น รวมทั้งอบรมแนวทางในการปฏิบัติงานที่บ้านเพื่อสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ดีและเหมาะสมให้กับบุคลากร 2) พัฒนาบุคลากรด้านสุขภาพทั้งทางกายและใจ โดยจัดกิจกรรมการพูดคุยแลกเปลี่ยนทางออนไลน์ การทำงานเป็นทีม การให้รางวัล เพื่อเสริมสร้างสุขภาพจิตและขวัญกำลังใจ 3) พัฒนาเทคโนโลยีและระบบสารสนเทศขององค์กรให้มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับรูปแบบการทำงานที่บ้านมากยิ่งขึ้น | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | ความสัมพันธ์ | th |
dc.subject | การปฏิบัติงานที่บ้าน | th |
dc.subject | วัฒนธรรมองค์กร | th |
dc.subject | Relationship | en |
dc.subject | Work from Home | en |
dc.subject | Organizational Culture | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Information and communication | en |
dc.subject.classification | Philosophy and ethics | en |
dc.title | The Relationship of Work from Home and Organizational Cultureof Supportive Staff of School of Health Science Group,University of Phayao | en |
dc.title | ความสัมพันธ์ของรูปแบบการปฏิบัติงานที่บ้านกับวัฒนธรรมองค์กรของบุคลากรสายสนับสนุน กลุ่มคณะด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพมหาวิทยาลัยพะเยา | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง | th |
dc.contributor.coadvisor | RAKSI KIATTIBUTRA | en |
dc.contributor.coadvisor | รักษ์ศรี เกียรติบุตร | th |
dc.contributor.emailadvisor | raksi.ki@up.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | raksi.ki@up.ac.th | |
dc.description.degreename | Master of Public Administration (M.P.A. (Public Policy)) | en |
dc.description.degreename | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รป.ม. (นโยบายสาธารณะ)) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Public Policy | en |
dc.description.degreediscipline | นโยบายสาธารณะ | th |
Appears in Collections: | School of Political and Social Science |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
64212971.pdf | 1.55 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.