Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/922
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Thanit Kittiworapongkij | en |
dc.contributor | ธนิต กิตติวรพงษ์กิจ | th |
dc.contributor.advisor | sunthon Khlal um | en |
dc.contributor.advisor | สุนทร คล้ายอ่ำ | th |
dc.contributor.other | University of Phayao | en |
dc.date.accessioned | 2024-02-14T13:16:18Z | - |
dc.date.available | 2024-02-14T13:16:18Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 16/10/2023 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/922 | - |
dc.description.abstract | This research have a purpose to study the roles of school administrators in driving the policy into practice of Lampang Primary Educational Service Area Office 2 and to compare the roles of school administrators in driving organizational management policies of the Primary Educational Service Area Office. Lampang Region 2. The population for this research was 1,050 teachers in schools under the Office of Lampang Primary Educational Service Area Region 2. The sample group consisted of 285 teachers by stratified random stratification according to school size. Statistics used in the analysis were mean, standard deviation. T test and F value test The research shows that 1) The role of school administrators in driving the policy to the implementation of the Lampang Primary Educational Service Area Office 2, overall, is at a high level. And on the area of educational management for social security and the nation At the highest level With the highest average, followed by balance and development of educational management systems In the development and development of human resource potential In creating opportunities to access quality education Educational management to increase the competitiveness of the country And educational management to improve the quality of life that is environmentally friendly With the lowest average 2) From the comparison of the role of school administrators to drive the policy to the implementation of the Lampang Primary Educational Service Area Office 2, classified according to the school size Overall, different And when considering the area, it was found that Educational management for society and the nation Educational management to increase the competitiveness of the country In the development and development of human resource potential In creating opportunities to access quality education And in terms of balance and development of educational management systems which There are differences Classified by work experience Overall, different And when considering the side, it is found that there are differences in all aspects And classified by education Overall, different And when considering the area, it was found that Educational management for society and the nation In the development and development of human resource potential In educational management to improve the quality of life that is environmentally friendly And in terms of balance and development of educational management systems which There are differences With statistical significance at the level of .05 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2 และเพื่อเปรียบเทียบบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการขับเคลื่อนนโยบายการบริหารองค์กรของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2 ประชากรในการวิจัย คือ ครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2 จำนวน 1,050 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอน จำนวน 285 คน โดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นตามขนาดสถานศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการทดสอบค่าเอฟ จากผลการวิจัย พบว่า 1) บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และรายด้าน พบว่า ด้านการจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษา ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ ด้านการสร้างโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ ด้านการจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และด้านการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด อยู่ในระดับมาก 2) จากผลการเปรียบเทียบบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2 จำแนกตามขนาดสถานศึกษา โดยภาพรวมแตกต่างกัน และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านการจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคม และประเทศชาติ ด้านการจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ด้านการสร้างโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ และด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษา ซึ่งมีความแตกต่างกัน จำแนกตามประสบการณ์ในการทำงาน โดยภาพรวมแตกต่างกัน และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า มีความแตกต่างกันทุกด้าน และจำแนกตามระดับ การศึกษา โดยภาพรวมแตกต่างกัน และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านการจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ด้านการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษา ซึ่งมีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | บทบาทของผู้บริหาร | th |
dc.subject | นโยบายสู่การปฏิบัติ | th |
dc.subject | Driving the Policy | en |
dc.subject | School Administrators | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.title | THE ROLE OF SCHOOL ADMINISTRATORS IN DRIVING POLICY INTO PRACTICE OFLAMPANG PRIMARY EDUCATION SERVICE AREA OFFICE 2 | en |
dc.title | บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2 | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง | th |
dc.contributor.coadvisor | sunthon Khlal um | en |
dc.contributor.coadvisor | สุนทร คล้ายอ่ำ | th |
dc.contributor.emailadvisor | sunthon.kh@up.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | sunthon.kh@up.ac.th | |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed. (Educational Administration)) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา)) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Educational Administration | en |
dc.description.degreediscipline | การบริหารการศึกษา | th |
Appears in Collections: | School of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
64209001.pdf | 3.5 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.