Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/910
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSiritanaporn Chaisirinyawachen
dc.contributorสิริธนาพร ชัยสิรินยาวัชรth
dc.contributor.advisorsunthon Khlal umen
dc.contributor.advisorสุนทร คล้ายอ่ำth
dc.contributor.otherUniversity of Phayaoen
dc.date.accessioned2024-02-14T13:16:17Z-
dc.date.available2024-02-14T13:16:17Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued29/5/2023
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/910-
dc.description.abstractThis research aims to study 1) the administrator’s competencies of schools 2) the management of learning management in the active learning model in school 3) the relationship between the administrator’s competencies and management of learning management in the active learning model in school and 4) the administrator’s competencies of schools affect the management of learning management in the active learning model in school. The sample used in the study were 108 school administrators, 108 academic heads, and 108 teachers, totaling 324 people. The research instrument was questionnaire which was 5 leveled rating scale questionnaire. Data was analyzed using Frequency, percentage, mean and standard deviation Pearson’s product-moment correlation coefficient and Stepwise multiple regression analysis. From the research, 1) The administrator’s competencies of schools was in the overall level at the highest level. Core competencies were at the highest level, in descending order of averages as follows: team work, adherence to righteousness and ethics, good service, achievement-oriented and accumulation of expertise in professional work. Administrative Competencies Overall, it was at the highest level. In descending order of averages as follows: leadership, potential to bring adjustments, government strategy, vision, teaching and assignments and self-control. 2) the management of learning management in the active learning model in school. Overall, it was at a high level. In descending order of averages as follows: encouraging teachers to develop innovative media for learning management, implementation of government policies, supervision and monitoring, coordination and learning resources outside educational institutions, reflect performance and improvements and development from performance 3) The relationship between the administrator’s competencies and management of learning management in the active learning model in school have a positive relationship high level Statistically significant at the .05 level. and 4) the administrator’s competencies of schools affect the management of learning management in the active learning model in school at .05 level of statistical significance, ranked in order of importance as follows: teaching and assignments, vision, team work, government strategic and Leadership with multiple correlation coefficient equal to 0.831.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา 2) การบริหารจัดการ เรียนรู้รูปแบบ Active Learning ในสถานศึกษา 3) ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา กับการบริหารจัดการเรียนรู้รูปแบบ Active Learning และ 4) สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อ การบริหารจัดการเรียนรู้รูปแบบ Active Learning กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 108 คน หัวหน้าฝ่ายบริหารงานวิชาการ จำนวน 108 คน และครูผู้สอน จำนวน 108 คน รวม 324 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า สมรรถนะหลักในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ดังนี้ ด้านการทำงานเป็นทีม ด้านการยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม ด้านบริการที่ดี ด้านการมุ่งผลสัมฤทธิ์และด้านการสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ ส่วนสมรรถนะทางการบริหาร ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ดังนี้ ด้านสภาวะผู้นำ ด้านศักยภาพ เพื่อนำการปรับเปลี่ยน ด้านการวางกลยุทธ์ภาครัฐ ด้านวิสัยทัศน์ ด้านการสอนงานและการมอบหมายงาน และด้านการควบคุมตนเอง 2) การบริหารจัดการเรียนรู้รูปแบบ Active Learning ในสถานศึกษา ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ดังนี้ ด้านการส่งเสริมครูในการพัฒนาสื่อนวัตกรรม การจัดการเรียนรู้ ด้านการปฏิบัติตามนโยบายภาครัฐ ด้านการนิเทศ กำกับ ติดตาม ด้านการประสานความร่วมมือ และแหล่งเรียนรู้นอกสถานศึกษา ด้านการสะท้อนผลการดำเนินงานและด้านการปรับปรุงและพัฒนา จากผลการดำเนินงาน 3) สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษากับการบริหารจัดการเรียนรู้รูปแบบ Active Learning ในสถานศึกษา มีความสัมพันธ์กันเชิงบวก อยู่ในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 และ 4) สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อการบริหารจัดการเรียนรู้รูปแบบ Active Learning ในสถานศึกษา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เรียงตามลำดับความสำคัญ คือ ด้านการสอนงานและการมอบหมายงาน ด้านวิสัยทัศน์ ด้านการทำงานเป็นทีม ด้านการวางกลยุทธ์ภาครัฐ ด้านสภาวะผู้นำ โดยมีค่า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณ เท่ากับ 0.831th
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectสมรรถนะของผู้บริหารth
dc.subjectการบริหารจัดการเรียนรู้รูปแบบ Active Learningth
dc.subjectCompetency Of Administratorsen
dc.subjectManagement of Learning Managementen
dc.subjectActive Learningen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleCompetency of Administrators Affecting Management of Learning Management in the Active Learning Model in School under the Office of Nan Primary Educational Service Area 2en
dc.titleสมรรถนะของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการเรียนรู้รูปแบบ Active Learning ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 2th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
dc.contributor.coadvisorsunthon Khlal umen
dc.contributor.coadvisorสุนทร คล้ายอ่ำth
dc.contributor.emailadvisorsunthon.kh@up.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorsunthon.kh@up.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64205434.pdf3.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.