Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/891
Title: THE ADMINISTRATION OF EDUCATIONAL INSTITUTIONS BY USING INFORMATION AND COMMUNICATION TECHNOLOGY OF SCHOOLS UNDER LAMPANG PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 1
การบริหารสถานศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาลำปาง เขต 1
Authors: Ponpot Moonfong
พลพจน์ มูลฟอง
Thararat Malaitao
ธารารัตน์ มาลัยเถาว์
University of Phayao
Thararat Malaitao
ธารารัตน์ มาลัยเถาว์
thararat_tacky@hotmail.com
thararat_tacky@hotmail.com
Keywords: การบริหารสถานศึกษาโดยใช้เทคโนโลยี
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
School Administration
Information and Communication Technology (ICT)
Issue Date:  29
Publisher: University of Phayao
Abstract: The purpose of this study was to educate and compare the administration of educational institutions by using information and communication technology of schools under Lampang Primary Educational Service Area Office 1. The samples were 310 school directors and school teachers who work in the school. The research instruments were Questionnaires. The data were analyzed using descriptive statistics percentage, mean, standard deviation, Index of Item–Objective Congruence: IOC, reliability, Independent Samples t-test, One-Way ANOVA, and Scheffe’s matched pair comparison. The results showed that: The administration of educational institutions by using information and communication technology in schools was rated the average scores at a high level. The highest average was an e-Office system, e-Mail, and online documents. In the comparison of The administration of educational institutions by using information and communication technology’s schools under Lampang Primary Educational Service Area Office 1, classified by gender, it was found that there was no statistically significant difference. But the directors and teachers, organized by work experience, found that there was a statistically significant difference at the 0.05 level of working experience.
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารสถานศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 และ 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารสถานศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 จำแนกตามเพศและประสบการณ์การทำงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 จำนวน 310 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความสอดคล้อง ค่าความเชื่อมั่น ค่า t–test ค่า F-test และทดสอบความแตกต่างรายคู่โดยวิธีการของเชฟเฟ่ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1) ตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครู มีการบริหารสถานศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของสถานศึกษา โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีระดับค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านระบบสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ และเอกสารออนไลน์ 2) ผลการเปรียบเทียบการบริหารสถานศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของสถานศึกษา พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาและครูที่มีเพศต่างกันมีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน แต่ผู้บริหารสถานศึกษาและครูที่มีประสบการณ์ในการทำงานต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารสถานศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของสถานศึกษาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/891
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64205209.pdf2.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.