Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/874
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKanyanee Chobchiten
dc.contributorกัญยาณี ชอบจิตรth
dc.contributor.advisorsanti Buranacharten
dc.contributor.advisorสันติ บูรณะชาติth
dc.contributor.otherUniversity of Phayaoen
dc.date.accessioned2024-02-14T13:16:13Z-
dc.date.available2024-02-14T13:16:13Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued29/5/2023
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/874-
dc.description.abstractThe objectives of this study were 1) to study the skills of school administrators in the digital age; Schools in Wawee Educational Quality Development Network Center under Chiang Rai Primary Education Area Office District 2 2) To study ways to develop skills of school administrators in the digital age. Schools in Wawee Educational Quality Development Network Center under Chiang Rai Primary Education Area Office District 2. Teachers in 8 schools in Wawi Education Quality Development Network Center The research instrument was a questionnaire with an IOC value between 0.67-1.00, which is the exact content The statistics used in the data analysis were frequency, percentage, average, standard deviation, and semi-structured interviews on ways to develop the skills of school administrators in the digital age. Perform structural data analysis, content analysis 2.1 Technology skills, basic knowledge of software There is a development approach, which is to clearly define the objectives and goals of information technology management within the educational institution. Promote knowledge in information technology in the digital age for administrators and teachers appropriately. 2.2 Critical thinking skills There is a development approach, namely, studying the Education Act related to digital. Set organizational goals Vision and analysis into the school's action plan. 2.3 Problem solving skills There is a development approach that should cultivate problem solving by organizing training, providing knowledge and training in executive experience, training to understand organizational problems. Plan solutions and focus on solving problems by using activities in real-world situations to intervene in the management process. 2.4 Communication skills have a development approach, which is to develop both speaking, listening, reading and writing skills. Conduct conscious and to-the-point communication. 2.5 Creative thinking skills There is a development approach, which is to develop personality to be characterized as a highly focused person. Accept the uncertain. Administrators are increasingly researching their own knowledge by providing a free atmosphere in the school premises to create innovation. Enhancing excellence in educational institutionen
dc.description.abstractการวิจัยศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล โรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาวาวี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 2) เพื่อศึกษาแนวทางในการพัฒนาทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล โรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาวาวี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 กลุ่มประชากร ได้แก่ ผู้บริหาร ครูผู้สอนทั้ง 8 โรงเรียน ในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาวาวี จำนวน 107 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม ได้ค่า IOC ระหว่าง 0.67-1.00 ซึ่งมีความตรงของเนื้อหา ได้ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม เท่ากับ 0.89 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยประชากร ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  และแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างเกี่ยวกับแนวทางในการพัฒนาทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโครงสร้าง วิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัย พบว่า 1. ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล โรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาวาวี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากทุกด้าน 2. ผลการศึกษาแนวทางในการพัฒนาทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล โรงเรียนในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาวาวี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 พบว่า 2.1 ด้านทักษะการใช้เทคโนโลยีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับซอฟต์แวร์ มีแนวทางการพัฒนา คือ กำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมายในการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศภายในสถานศึกษาอย่างชัดเจน ส่งเสริมองค์ความรู้ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในยุคิดิจิทัล ให้ผู้บริหาร และครูได้อย่างเหมาะสม 2.2 ทักษะการคิดวิเคราะห์ มีแนวทางการพัฒนา คือ ศึกษาพระราชบัญญัติทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับดิจิทัล กำหนดเป้าหมายขององค์กร วิสัยทัศน์ และวิเคราะห์ออกมาเป็นแผนการดำเนินการของสถานศึกษา 2.3 ทักษะการแก้ปัญหา มีแนวทางการพัฒนาคือ ควรปลูกฝังการแก้ปัญหา โดยการจัดการอบรมให้ความรู้และฝึกประสบการณ์ผู้บริหาร ฝึกให้ได้ทำความเข้าใจกับปัญหาองค์กร วางแผนการแก้ไขปัญหา และมุ่งแก้ปัญหา โดยการใช้กิจกรรมในสถานการณ์จริงสอดแทรกในกระบวนการบริหาร 2.4 ทักษะ การสื่อสาร มีแนวทางการพัฒนา คือ พัฒนาทั้งทักษะการพูด การฟัง การอ่าน และการเขียน ดำเนินการสื่อสารอย่างมีสติและตรงประเด็น 2.5 ทักษะการคิดอย่างสร้างสรรค์ มีแนวทางการพัฒนา คือ พัฒนาบุคลิกภาพ ให้มีลักษณะเป็นคนมีสมาธิสูง ยอมรับสิ่งที่ไม่แน่นอน ผู้บริหารได้ค้นคว้าความรู้ด้วยตนเองมากขึ้นโดยการจัดบรรยากาศภายในสถานศึกษาแบบเสรี เพื่อให้เกิดการสร้างนวัตกรรม ยกระดับความเป็นเลิศในสถานศึกษาth
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectทักษะด้านความรู้th
dc.subjectทักษะด้านอารมณ์th
dc.subjectยุคดิจิทัลth
dc.subjectHard Skillsen
dc.subjectSoft Skillsen
dc.subjectDigital Ageen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleTHE SKILLS OF SCHOOL ADMINISTRATORS IN DIGITAL ERA WAWEE EDUCATIONALQUALITY IMPROVEMENT NETWORK CENTER UNDER CHIANG RAI PRIMARYEDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 2en
dc.titleทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาวาวี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
dc.contributor.coadvisorsanti Buranacharten
dc.contributor.coadvisorสันติ บูรณะชาติth
dc.contributor.emailadvisorsanti.bu@up.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorsanti.bu@up.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64205018.pdf4.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.