Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/845
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Ratchanee Sutthiprabha | en |
dc.contributor | รัชนี สุทธิประภา | th |
dc.contributor.advisor | Namfon Gunma | en |
dc.contributor.advisor | น้ำฝน กันมา | th |
dc.contributor.other | University of Phayao | en |
dc.date.accessioned | 2024-02-14T13:16:10Z | - |
dc.date.available | 2024-02-14T13:16:10Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 29/5/2023 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/845 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research are 1) Studying technology leadership of school administrator under Chiangrai primary education service area office 3 2). Comparison of technology leadership of school administrator under Chiangrai primary education service area office 3. The sample done by 320 people including teachers in school under Chiangrai primary education service area office 3. They’re selected by the sample group from opening Krejcie and Morgan’s table. Once the sample size was obtained, proportional stratified random sampling method was used. The research was a 5 point scaled questionnaire about technology leadership of school administrator under Chiangrai primary education service area office 3. Finding percentage averaging and finding the standard deviation. One Way Anova statistics used classified by age, work experience and size of school. The research results found that: 1) technology leadership of school administrator under Chiangrai primary education service area office 3 as whole and specifically were rated at a high level, including Visionary Leadership, Digital-Age Learning Culture, Excellence in Professional Practice, Systemic Improvement and Digital Citizenship. 2) Comparison of school the teachers’ opinion on technology leadership of school administrators under primary education service area office 3 classified by age: the result found that level in overall difference was statistically significant at 0.05 classified by work experience: the result found that level in overall difference was statistically significant at 0.05 and classified by size of school level in overall difference was statistically significant at 0.05 by using the Scheffe difference detection method. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 และ 2) เปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 จำแนกตาม อายุ ประสบการณ์การทำงาน และขนาดของโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูในสังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 จำนวน 320 คน โดยเปิดจากตารางของเครจซี่ และมอร์แกน และใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบด้วย F-test (One Way ANOVA) เมื่อพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และหาความแตกต่างของค่าเฉลี่ยรายคู่โดยใช้วิธีของ Scheffe ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 โดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก ดังนี้ 1) การเป็นผู้นำด้านวิสัยทัศน์ 2) การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้แบบโลกยุคดิจิทัล 3) การปฏิบัติที่เป็นเลิศอย่างมืออาชีพ 4) การปรับปรุงอย่างเป็นระบบและ 5) การเป็นพลเมืองในยุคดิจิทัล 2) การเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 จำแนกตามอายุ ดังนี้ 1) การเป็นผู้นำด้านวิสัยทัศน์ 2) การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้แบบโลกยุคดิจิทัล 3) การปฏิบัติที่เป็นเลิศอย่างมืออาชีพ 4) การปรับปรุงอย่างเป็นระบบและ 5) การเป็นพลเมืองในยุคดิจิทัล โดยภาพรวมและทุกด้านแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน ดังนี้ 1) การเป็นผู้นำด้านวิสัยทัศน์ 2) การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้แบบ โลกยุคดิจิทัล 3) การปฏิบัติที่เป็นเลิศอย่างมืออาชีพ 4) การปรับปรุงอย่างเป็นระบบและ 5) การเป็นพลเมืองในยุคดิจิทัล โดยภาพรวมและทุกด้านแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 และจำแนกตามขนาดของโรงเรียน ดังนี้ 1) การเป็นผู้นำด้านวิสัยทัศน์ 2) การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้แบบโลกยุคดิจิทัล 3) การปฏิบัติที่เป็นเลิศ อย่างมืออาชีพ 4) การปรับปรุงอย่างเป็นระบบและ 5) การเป็นพลเมืองในยุคดิจิทัล โดยภาพรวม และทุกด้านแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | ผู้นำเชิงเทคโนโลยี | th |
dc.subject | ผู้บริหารสถานศึกษา | th |
dc.subject | Technology Leadership | en |
dc.subject | School Administrators | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | TECHNOLOGY LEADERSHIP OF SCHOOL ADMINISTRATORS UNDER CHIANG RAIPRIMARY EDUCATION SERVICE AREA OFFICE 3 | en |
dc.title | ภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง | th |
dc.contributor.coadvisor | Namfon Gunma | en |
dc.contributor.coadvisor | น้ำฝน กันมา | th |
dc.contributor.emailadvisor | numfon.gu@up.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | numfon.gu@up.ac.th | |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed. (Educational Administration)) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา)) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Educational Administration | en |
dc.description.degreediscipline | การบริหารการศึกษา | th |
Appears in Collections: | School of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
64170389.pdf | 2.83 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.