Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/843
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPattarawan Parimiten
dc.contributorภัทราวรรณ ปริมิตรth
dc.contributor.advisorNatthawut Sabphasoen
dc.contributor.advisorณัฐวุฒิ สัพโสth
dc.contributor.otherUniversity of Phayaoen
dc.date.accessioned2024-02-14T13:16:10Z-
dc.date.available2024-02-14T13:16:10Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued29/5/2023
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/843-
dc.description.abstractThe administrators' roles in the professional learning community management (PLC) of schools under the Department of Local Administration Sut Tin Thai Consortium.This research purpose was to 1) study of the administrators' roles in the professional learning community management (PLC) of schools under the Department of Local Administration Sut Tin Thai Consortium 2) to compare the administrators' roles in promoting the professional learning community management (PLC) of schools under the Department of Local Administration Sut Tin Thai Consortium according to Educational degree and work experience. The research sample was 210 teachers in Sut Tin Thai Consortium. The instrument used was a rating scale questionnaire with a reliability of 0.945 Statistics used in data analysis were percentage, mean, standard deviation, independent t-test (t-test), one-way analysis of variance, one-way ANOVA, F-test values and comparison of pairwise differences by LSD (Least Significant Difference) The results showed that 1) School administrators and teachers in the Sud Thin Thai Consortium, under the Office of Secondary Education Service Area of Chiang Rai There were opinions about the study of the role of school administrators in the management of professional learning communities (PLC) as a whole at a high level. The highest was the co-leadership and support structure at a high level. was at a high level for learning and professional development is at a high level, respectively. The item with the lowest mean is team cooperation, which is at a high level. 2) Classified by educational qualifications, there was statistically significant at 0.05 level on the role of school administrators in a Professional Learning Community (PLC) in Sud Tin Thai Consortium. However, there was no significance by respondents’ work experience.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ของผู้บริหารสถานศึกษาและครูในกลุ่มโรงเรียนสหวิทยาเขตสุดถิ่นไทย 2) เพื่อเปรียบเทียบบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาและครูในการจัดการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ของผู้บริหารสถานศึกษาและครูในกลุ่มโรงเรียนสหวิทยาเขตสุดถิ่นไทยโดยจำแนกตามวุฒิการศึกษาและประสบการณ์การทำงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู ในสหวิทยาเขต สุดถิ่นไทย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงราย จำนวน 210 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.945 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ t (t-test Independent) และ F-test การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว One-way ANOVA และเปรียบเทียบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธี LSD (Least Significant Difference) ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้บริหารสถานศึกษาและครูในสหวิทยาเขตสุดถิ่นไทย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงราย มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการศึกษาบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา ในการจัดการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านภาวะผู้นำร่วม และด้านโครงสร้างสนับสนุน อยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยรองลงมา คือ ด้านชุมชนกัลยาณมิตร อยู่ในระดับมาก ด้านการเรียนรู้และการพัฒนาวิชาชีพ อยู่ในระดับมาก ตามลำดับ ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านทีมร่วมแรงร่วมใจ อยู่ในระดับมาก 2) การเปรียบเทียบบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ของผู้บริหารสถานศึกษาและครูในกลุ่มโรงเรียนสหวิทยาเขตสุดถิ่นไทย จำแนกตามวุฒิการศึกษา พบว่า ครูกลุ่มโรงเรียนสหวิทยาเขตสุดถิ่นไทย มีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการจัดการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) โดยภาพรวม มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จำแนกตามประสบการณ์การทำงานในภาพรวมไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญth
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพth
dc.subjectบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)th
dc.subjectกลุ่มโรงเรียนสหวิทยาเขตสุดถิ่นไทยth
dc.subjectThe Professional Learning Communityen
dc.subjectThe Roles of School Administrators in the Community Management of Professional Learning (PLC)en
dc.subjectSud Tin Thai Consortiumen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleTHE ADMINISTRATORS' ROLES IN THE PROFESSIONAL LEARNING COMMUNITY (PLC) MANAGEMENT OF SCHOOLS UNDER THE DEPARTMENT OF LOCAL ADMINISTRATION SUT TIN THAIen
dc.titleบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการชุมชนแห่งการเรียนรู้ ทางวิชาชีพ (PLC)ในกลุ่มโรงเรียนสหวิทยาเขตสุดถิ่นไทยth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
dc.contributor.coadvisorNatthawut Sabphasoen
dc.contributor.coadvisorณัฐวุฒิ สัพโสth
dc.contributor.emailadvisornatthawut.sa@up.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisornatthawut.sa@up.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64170367.pdf2.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.