Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/841
Title: A STUDY OF SCHOOL ADMINISTRATORS ACCORDING TO THE PRINCIPLESOF GOOD GOVERNANCE FOR SCHOOL ADMINISTRATIONUNDER CHIANG RAI OFFICE OF THE VOCATIONALEDUCATION COMMISSION
การศึกษาการบริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจังหวัดเชียงราย
Authors: Phutthiphat Thanaphatpanya
พุทธิพัชร์ ธนพัทธ์ปัญญา
Sopa Umnuayrat
โสภา อำนวยรัตน์
University of Phayao
Sopa Umnuayrat
โสภา อำนวยรัตน์
sopa.am@up.ac.th
sopa.am@up.ac.th
Keywords: การบริหารสถานศึกษา
หลักธรรมาภิบาล
ผู้บริหารสถานศึกษา
Education Administration
Good Governance
School administrators
Issue Date:  29
Publisher: University of Phayao
Abstract: This research aims to study academy administration according to the principles of good governance of academy executives of Chiang Rai vocational education commission. For researching and comparing 443 participants who are teachers and assign a sample using a table of Krige and Morgan by getting 210 people as example. The tool was the estimation scale questionnaire; With 5 levels. The consistency index is at 1.00 and the confidence depends 0.982 on the statistics used to analyze data frequency distribution, percentage, mean and standard deviation, (t-test), (F-test). The results were 1) overview of academy administration according to the principles of good governance of academy executives of Chiang Rai vocational education commission was in the excellent level. The highest average was efficient. The minor average was effective. On the other hand, the lowest average was response 2) Comparing teacher’s opinions on academy administration according to the principles of good governance of academy executives of Chiang Rai vocational education commission which was divided by gender. It was found that the opinions of different genders who worked in the academy had similar views with the academy administration according to the principles of good governance, except for transparency that is divided by age. Overall, teachers with a different age had different opinions statistically significant at level 0.5. The one divided by experiences also had different idea’s significantly at 0.5.
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จังหวัดเชียงราย เพื่อเปรียบเทียบการบริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจังหวัดเชียงราย ศึกษาประชากร ครูผู้สอน จำนวน 443 คน และกำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซี่และ มอร์แกนได้จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 210 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ที่ 1.00 และค่าความเชื่อมั่นอยู่ที่ 0.98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test) และการทดสอบค่าเอฟ (F-test) วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One–Way ANOVA) และตรวจสอบความแตกต่างเป็นรายคู่โดยวิธีตรวจสอบความแตกต่างของเชฟเฟ่ (Scheffe’s) ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษาความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจังหวัดเชียงราย ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ หลักประสิทธิภาพ รองลงมา คือ หลักประสิทธิผล และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ หลักการตอบสนอง 2) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักธรรมาภิบาล ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจังหวัดเชียงราย จำแนกตามเพศ พบว่าครูที่มีเพศต่างกัน มีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน ยกเว้นหลักความโปร่งใส เมื่อจำแนกตามอายุ พบว่าครูที่ปฏิบัติงานในสถานศึกษาที่มีอายุต่างกัน มีความคิดเห็นแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และเมื่อจำแนกตามประสบการณ์ พบว่าครูที่ปฏิบัติงานในสถานศึกษาที่มีประสบการณ์ต่างกันมีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/841
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64170345.pdf3.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.