Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/829
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTatiporn Khetruksaen
dc.contributorตติย์พร เขตรักษาth
dc.contributor.advisorNamfon Gunmaen
dc.contributor.advisorน้ำฝน กันมาth
dc.contributor.otherUniversity of Phayaoen
dc.date.accessioned2024-02-14T13:16:08Z-
dc.date.available2024-02-14T13:16:08Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued29/5/2023
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/829-
dc.description.abstractThis study aims to 1) study the leadership in the digital age. 2) study the performance motivation and 3) study the relationship between leadership in the digital age of school administrators and teachers' performance motivation in Chiang Kham District, Phayao Province under Phayao Primary Education Service Area Office 2. There were administrators and teachers of Chiang Kam District Municipality Education Office a total of 181. The tool used for data collection was a questionnaire on Administrative Skills in the relationship between leadership in the digital age of school administrators and teachers' performance motivation of Chiang Kam District Municipality Education Office. The consistency index was between 0.67-1.00. The reliability of leadership in the digital age of school administrators was 0.96 and The reliability of teachers' performance motivation was 0.93. The statistics used to analyze and present the data consisted of mean, standard deviation. Pearson correlation. The results of this research found that: 1) the leadership in the digital age of Educational Institution Administrators of Chiang Kham District, Phayao Province under Phayao Primary Education Service Area Office 2, overall, was at the highest level. 2) the teachers' performance motivation of Educational Institution Administrators of Chiang Kham District, Phayao Province under Phayao Primary Education Service Area Office 2, overall, was at the highest level. 3) The relationship between leadership in the digital age of school administrators and teacher performance motivation in Chiang Kham District, Phayao Province, under the Office of Phayao Primary Educational Service Area Office 2 found that there was a high relationship in a positive direction. at the statistical significance level of 0.05en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา 2) เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานและ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในอำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 2 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูในอำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 2 จำนวน 181 คน ได้มาโดยการกำหนดขนาด กลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน สุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในอำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถาน ค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.67-1.00 ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.96 และแบบสอบถามเกี่ยวกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู ค่าดัชนี ความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.67-1.00 ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า 1) ภาวะผู้นำในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาในอำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 2 ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 2) แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในอำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 2 ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในอำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 2 พบว่า มีความสัมพันธ์ระดับสูง ในทิศทางบวก ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05th
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectภาวะผู้นำในยุคดิจิทัลth
dc.subjectแรงจูงใจth
dc.subjectสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 2th
dc.subjectLeadership in the digital ageen
dc.subjectMotivationen
dc.subjectPhayao Primary Educational Service Area Office 2en
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleTHE RELATIONSHIP BETWEEN LEADERSHIP IN THE DIGITAL AGE OF SCHOOLADMINISTRATORS AND TEACHERS' PERFORMANCE MOTIVATIONIN CHIANG KHAM DISTRICT, PHAYAO PROVINCEUNDER PHAYAO PRIMARY EDUCATIONSERVICE AREA OFFICE 2en
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในอำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 2th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
dc.contributor.coadvisorNamfon Gunmaen
dc.contributor.coadvisorน้ำฝน กันมาth
dc.contributor.emailadvisornumfon.gu@up.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisornumfon.gu@up.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64170198.pdf2.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.