Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/820
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorJenjira Upananchaien
dc.contributorเจนจิรา อุปนันชัยth
dc.contributor.advisorThidawan Unkongen
dc.contributor.advisorธิดาวัลย์ อุ่นกองth
dc.contributor.otherUniversity of Phayaoen
dc.date.accessioned2024-02-14T13:16:07Z-
dc.date.available2024-02-14T13:16:07Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued29/5/2023
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/820-
dc.description.abstractThe purpose of this research were 1) to investigate the school administrators’ conflict management , and 2) to construct the practical approach of school administrators’ conflict management under Chiangrai Primary Educational Service Area Office 2. The samples used in the research were 310 administrators and teachers in educational institutions under Chiangrai Primary Educational Service Area Office 2 through the muti-stage sampling. The instruments for data collection were questionnaires and interview forms. The statistics consisted of frequency, percentage, mean, standard deviation, and content analysis. The results of the research showed that: 1) the school administrators’ conflict management under  Chiangrai Primary Educational Service Area Office 2 was overall at a moderate level. 2) The practical approach of school administrators’ conflict management under Chiangrai Primary Educational Service Area Office 2 consisted of five factors: 1) the collaboration; the school administrators should listen to problems and analyze problems that cause conflicts and remain neutral. Discuss and create understanding by using reason. 2) the accommodating; the school administrators should show sincerity. Lead both sides see that the the school administrators use the principles of justice in managing conflicts. 3) the competition; Administrators chose to use power and influence as a last resort in conflict management. 4) the avoidance; Administrators should be aware that conflict exists in every organization. Look at conflict management as learning personnel in the organization. 5) the compromising; Administrators should let people in the organization take part in the management.en
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาทักษะการบริหารจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา และ 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาทักษะการบริหารจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารและครู ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 จำนวน 310 คน โดยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามตารางของ Krejcie and Morgan และผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบ่งออกเป็น 2 ชนิด 1) แบบสอบถาม โดยมีลักษณะเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ และ 2) แบบสัมภาษณ์ ชนิดกึ่งโครงสร้าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1) ทักษะความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง 2) แนวทางในการบริหารจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 พบว่า 1) ด้านการบริหาร ความขัดแย้งแบบร่วมมือ แนวทางในการบริหารจัดการความขัดแย้ง คือ ผู้บริหารควรรับฟังปัญหาและวิเคราะห์ปัญหาที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งและวางตัวเป็นกลาง พูดคุยสร้างความเข้าใจโดยใช้เหตุผล 2) ด้านการบริหาร ความขัดแย้งแบบปรองดอง แนวทางในการบริหารจัดการความขัดแย้ง คือ ผู้บริหารควรแสดงออกถึงความจริงใจ ให้ทั้งสองฝ่ายเห็นว่าผู้บริหารใช้หลักความยุติธรรมในการจัดการความขัดแย้ง 3) ด้านการบริหารความขัดแย้ง แบบเอาชนะ แนวทางในการบริหารจัดการความขัดแย้ง คือ ผู้บริหารควรเลือกใช้อำนาจและอิทธิพลเป็นวิธีการสุดท้ายในการจัดการความขัดแย้ง 4) ด้านการบริหารความขัดแย้งแบบหลีกเลี่ยง แนวทางในการบริหารจัดการ ความขัดแย้ง คือ ผู้บริหารควรตระหนักว่าความขัดแย้งมีในทุกองค์กร มองการจัดการความขัดแย้งเป็นการเรียนรู้บุคคลากร 5) ด้านการบริหารความขัดแย้งแบบประนีประนอม แนวทางในการบริหารจัดการความขัดแย้ง คือ เมื่อมีความขัดแย้งเกิดขึ้นให้บุคคลในองค์กรมีส่วนร่วมในการจัดการth
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectทักษะการบริหารจัดการความขัดแย้งth
dc.subjectผู้บริหารสถานศึกษาth
dc.subjectconflict managementen
dc.subjectAdministratorsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleGUIDELINES FOR CONFLICT MANAGEMENT OF THE SCHOOL ADMINISTRATORS UNDER CHIANG RAI PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 2en
dc.titleแนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
dc.contributor.coadvisorThidawan Unkongen
dc.contributor.coadvisorธิดาวัลย์ อุ่นกองth
dc.contributor.emailadvisorthidawan.un@up.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorthidawan.un@up.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64170097.pdf2.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.