Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/812
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSaowapa Tanakongen
dc.contributorเสาวภา ฐานะกองth
dc.contributor.advisorWasan Sapphasuken
dc.contributor.advisorวสันต์ สรรพสุขth
dc.contributor.otherUniversity of Phayaoen
dc.date.accessioned2024-02-14T13:16:06Z-
dc.date.available2024-02-14T13:16:06Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued29/5/2023
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/812-
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to develop and validate the effectiveness of lesson plans using a Flipped Classroom with the STAR strategy on addition and subtraction of 3-digit decimal numbers, and 2) to compare the mathematics problem-solving skills after using a Flipped Classroom with the STAR strategy steps on addition and subtraction of 3-digit decimal numbers for grade fourth students.The population was grade fourth students at Anuban Hua Fai School. The sample group was 32 grade fourth students in the second semester, the academic year of 2021. The research instruments were 1) twelve lesson plans using a Flipped Classroom with the STAR strategy and 2) the mathematics problem-solving skills test, including 8 subjective test items. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, and one sample T-test. The results were as follows:1) The assessment of lesson plans using a Flipped Classroom with STAR strategy on addition and subtraction of 3-digit decimal numbers reached the overall criteria of accuracy and appropriateness; the third plan, the fourth plan, and the sixth plan were rated at the highest level. The other plans were rated at a high level. 2) The post-test results of mathematics problem-solving skills after using a flipped classroom with the STAR strategy on addition and subtraction of 3-digit decimal numbers were higher than the pre-test at the statistically significant level of 0.5en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อสร้างและตรวจสอบคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับเทคนิคการจำตัวอักษรชื่อแรก STAR เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก ลบ ทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่ง 2) เพื่อเปรียบเทียบผลการพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์โดยใช้รูปแบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับเทคนิคการจำตัวอักษรชื่อแรก STAR เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก ลบ ทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่ง ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 32 คน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับเทคนิคการจำตัวอักษรชื่อแรก STAR จำนวน 12 แผน 2)แบบทดสอบวัดทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์โดยใช้แบบทดสอบอัตนัย จำนวน 8 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าทีแบบกลุ่มเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการประเมินความถูกต้องเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับเทคนิคการจำตัวอักษรชื่อแรก STAR เรื่อง โจทย์ปัญหาทศนิยมบวก ลบ ไม่เกิน 3 ตำแหน่ง พบว่า แผนการจัดการเรียนรู้มีความถูกต้องเหมาะสม ดังนี้ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3, แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 และแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 อยู่ในระดับคุณภาพมากที่สุด แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1, 2, 5, 7, 8, 9, 10, 11 และแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 อยู่ในระดับคุณภาพมาก 2) ผลการทดสอบทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์โดยใช้รูปแบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับเทคนิคการจำตัวอักษรชื่อแรก STAR เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก ลบ ทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่ง หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectห้องเรียนกลับด้านth
dc.subjectเทคนิคการจำตัวอักษรชื่อแรก (STAR)th
dc.subjectทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์th
dc.subjectFlipped classroomen
dc.subjectSTAR strategyen
dc.subjectMathematics problem-solving skillsen
dc.subject.classificationMathematicsen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleThe development of Mathematics problem solving skills by using a Flipped Classroom with STAR strategy steps on addition, subtraction, of  3-digit decimal numbers.en
dc.titleการพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์โดยใช้รูปแบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับเทคนิคการจำตัวอักษรชื่อแรก STAR เรื่องโจทย์ปัญหาการบวก ลบ ทศนิยม ไม่เกิน 3 ตำแหน่งth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
dc.contributor.coadvisorWasan Sapphasuken
dc.contributor.coadvisorวสันต์ สรรพสุขth
dc.contributor.emailadvisorwasan.sa@up.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorwasan.sa@up.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed. (Curriculum and Instruction))en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (หลักสูตรและการสอน))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineCurriculum and Instructionen
dc.description.degreedisciplineหลักสูตรและการสอนth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63170636.pdf2.79 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.