Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/804
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Nattapong Choomwong | en |
dc.contributor | ณัฐพงษ์ ชุ่มวงศ์ | th |
dc.contributor.advisor | Rungtiwa Kongson | en |
dc.contributor.advisor | รุ่งทิวา กองสอน | th |
dc.contributor.other | University of Phayao | en |
dc.date.accessioned | 2024-02-14T13:16:05Z | - |
dc.date.available | 2024-02-14T13:16:05Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 29/5/2023 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/804 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research were 1) to create and investigate the quality of the deductive learning activities with executive function; 2) to compare mathematical reasoning skills of Mathayomsuksa 2 students before and after learning by using the deductive learning activities with executive function. The sampling in this research were selected by simple random sampling in 26 students in the second semester of 2022 academic year at the Demonstration School, University of Phayao, Muang Phayao District, Phayao Province. The research tools were the deductive learning activities with executive function in the basic mathematics course 4, secondary school Mathayomsuksa 2 on Factoring of Second-Degree Polynomials and Mathematical Reasoning Skills. The statistics used for data analysis were percentage, mean, and standard deviation and the comparison of scores using t-test statistics. The results of the research were presented as follows: 1) the deductive learning activities with executive function to promote mathematical reasoning skills and cognitive abilities. For lower secondary students is the most appropriate ( = 4.65,S.D =0.48 ); 2) The mathematics reasoning skill measurement results on Factoring of Second Degree Polynomials by the deductive learning activities with executive function the basic mathematics course 4, secondary school Mathayomsuksa 2 in after study is higher than before study with statistical significance at the .01 level and according to the attributes of mathematical reasoning skills, the overall result is moderate representing 61.73 percent | en |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อสร้างและหาคุณภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบนิรนัยร่วมกับการบริหารจัดการสมอง รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 2)เพื่อเปรียบเทียบทักษะการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบนิรนัยร่วมกับการบริหารจัดการสมอง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา โดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) จำนวน 26 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบนิรนัยร่วมกับการบริหารจัดการสมอง รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนาม ดีกรีสองและแบบดทักษะการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานการเปรียบเทียบคะแนนโดยใช้สถิติทดสอบค่า t ผลการวิจัย พบว่า 1) การจัดการเรียนรู้โดยใช้การเรียนรู้แบบนิรนัยร่วมกับการบริหารจัดการสมองเพื่อส่งเสริมทักษะการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์และความสามารถเชิงพุทธิปัญญา สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น มีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด ( = 4.65,S.D =0.48 ) 2) ผลการวัดทักษะการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบนิรนัยร่วมกับการบริหารจัดการสมอง รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และตามคุณลักษณะของทักษะการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 61.73 | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบนิรนัย,การบริหารจัดการสมอง, ทักษะการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ | th |
dc.subject | The deductive learning activities Executive function Mathematical reasoning skills | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | THE DEVELOPMENT OF DEDUCTIVE LEARNING ACTIVITIES WITH EXECUTIVE FUNCTION TO IMPROVE MATHEMATICS REASONING FOR LOWER SECONDARY STUDENTS | en |
dc.title | การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบนิรนัยร่วมกับการบริหารจัดการสมองเพื่อส่งเสริมทักษะการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Rungtiwa Kongson | en |
dc.contributor.coadvisor | รุ่งทิวา กองสอน | th |
dc.contributor.emailadvisor | rungtiwa.ko@up.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | rungtiwa.ko@up.ac.th | |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed. (Curriculum and Instruction)) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (หลักสูตรและการสอน)) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Curriculum and Instruction | en |
dc.description.degreediscipline | หลักสูตรและการสอน | th |
Appears in Collections: | School of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
61500574.pdf | 1.44 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.