Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/790
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWichit Suksuntikulen
dc.contributorวิชิต สุขสันติกูลth
dc.contributor.advisorSomsak Aeamkongseeen
dc.contributor.advisorสมศักดิ์ เอี่ยมคงสีth
dc.contributor.otherUniversity of Phayaoen
dc.date.accessioned2024-02-14T11:27:47Z-
dc.date.available2024-02-14T11:27:47Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued16/10/2023
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/790-
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to study the level of academic leadership of school administrators. under the Office of Chachoengsao Primary Educational Service Area Office 2 2) to study the level of being a professional learning community of school Under the Chachoengsao Primary Educational Service Area Office 2 3) to study the relationship between academic leadership of school administrators and being a professional learning community of educational institutions Under the Chachoengsao Primary Educational Service Area Office 2 The sample size was calculated by using the G*Power version 3.1 program. The sample group were 138 teachers under the Office of Chachoengsao Primary Educational Service Area Office 2, academic year 2022. The research instrument was a rating-scale questionnaire with Cronbach’s alpha coefficient  of .985. The data were analyzed by using percentage, mean, standard deviation, and Pearson's product moment correlation coefficient. The results of the research were as follows: 1) Academic leadership of school administrators Under the Chachoengsao Primary Educational Service Area Office 2, the overall level was at a high level. 2) Being a professional learning community of school Under the Chachoengsao Primary Educational Service Area Office 2, the overall level was at a high level. 3) Academic leadership of school administrators had a moderate positive correlation with being a professional learning community of school under the Chachoengsao Primary Educational Service Area Office 2 (r = .589) had statistically significant at the .01 level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2 2) เพื่อศึกษาระดับการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของสถานศึกษา  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2 คำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้โปรแกรม G*Power เวอร์ชั่น 3.1 ได้กลุ่มตัวอย่าง คือ ครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 138 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ .985 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า 1) ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) การเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3) ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษามีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2 (r = .589) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectภาวะผู้นำทางวิชาการth
dc.subjectชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพth
dc.subjectAcademic Leadershipen
dc.subjectProfessional Learning Community of Schoolen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleRELATIONSHIP BETWEEN ACADEMIC LEADERSHIP OF SCHOOL ADMINISTRATORS AND BEING A PROFESSIONAL LEARNING COMMUNITY OF SCHOOLS UNDER CHACHOENGSAO PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 2en
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับ การเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ฉะเชิงเทรา เขต 2th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
dc.contributor.coadvisorSomsak Aeamkongseeen
dc.contributor.coadvisorสมศักดิ์ เอี่ยมคงสีth
dc.contributor.emailadvisorsomsak.ae@up.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorsomsak.ae@up.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:School of Management and Information Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64160210.pdf3.4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.