Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/730
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Kannikar Kantamas | en |
dc.contributor | กรรณิการ์ คันทมาศ | th |
dc.contributor.advisor | Khomkrit Tachom | en |
dc.contributor.advisor | คมกฤช ตาชม | th |
dc.contributor.other | University of Phayao | en |
dc.date.accessioned | 2024-02-14T10:41:31Z | - |
dc.date.available | 2024-02-14T10:41:31Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 16/10/2023 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/730 | - |
dc.description.abstract | This study explores the Intercultural Communication Strategies, English Pronunciation Strategies, and Academic Adaptation Strategies utilized by Chinese and Thai undergraduate students in a Thai university online instruction context. The aim is to understand how students cope with intercultural communication challenges and adapt academically. The findings reveal that both Chinese and Thai students employ EPS moderately, with a focus on metacognitive strategies. Chinese students prioritize learning specific English sounds and memorization, while Thai students take note of difficult words for pronunciation and explore phonetics. The study emphasizes the need for context-specific research as students' reported strategies may differ from traditional frameworks. Students' beliefs about motivation and the perceived difficulty of learning English influence their understanding and utilization of metacognitive strategies. The study suggests that a combination of diverse intercultural communication strategies, English pronunciation strategies, and academic adaptation strategies can address students' beliefs and enhance their success in English language learning. Understanding students' coping strategies and academic adaptation is crucial for effective intercultural communication and academic success. These findings inform the design of language instruction and support programs to facilitate intercultural communication and academic adaptation among Chinese and Thai students. | en |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้คือ 1) การสำรวจกลวิธีการออกเสียงภาษาอังกฤษ (EPS) 2) การศึกษากลวิธีการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม (ICS) 3) การศึกษากลวิธีการปรับตัวทางวิชาการ (AAS) ที่นักศึกษาปริญญาตรีชาวจีนและชาวไทยใช้เมื่อพบกับอุปสรรคด้านการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม ในบริบทการสอนออนไลน์ของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย และ 4) การศึกษาความแตกต่างระหว่างนักศึกษาชาวจีนและชาวไทยในการใช้ภาษาอังกฤษกับปัญหาด้านการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมในบริบทการสอนออนไลน์ในมหาวิทยาลัยในประเทศไทย โดยเปรียบเทียบกับกลวิธีการออกเสียงภาษาอังกฤษ และประเภทของกลวิธีการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมในภาษาอังกฤษของนักศึกษาทั้งสองกลุ่มตัวอย่างที่ในการวิจัยประกอบด้วยนักศึกษาชาวไทยชั้นปีที่ 4 จำนวน 40 คนและนักศึกษาชาวจีนชั้นปีที่ 4 จำนวน 40 คนที่ศึกษาในสาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย จังหวัดเชียงราย ปีการศึกษา 2564 โดยใช้เทคนิคการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือวิจัยได้แก่แบบสอบถามออนไลน์และการสัมภาษณ์เชิงลึกออนไลน์ วิเคราะห์ด้วยความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) นักศึกษาชาวจีนและชาวไทยใช้กลวิธีการออกเสียงภาษาอังกฤษอย่างสมดุลกับการใช้กลวิธีด้านอภิปัญญา นักศึกษาชาวจีนเน้นการเรียนรู้เสียงภาษาอังกฤษที่เฉพาะเจาะจง และการจำคำศัพท์ ในขณะที่นักศึกษาชาวไทยใส่ใจถึงคำศัพท์ที่ยากต่อการออกเสียงและการสำรวจเรื่องทางเสียงภาษา 2) ทั้งนักศึกษาชาวจีนและชาวไทยใช้กลวิธีการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมอย่างสมดุล นักศึกษาชาวจีนใช้กลยุทธ์ที่เกี่ยวข้องกับความรู้มากกว่ากลวิธีการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมในขณะที่นักศึกษาชาวไทยใช้การเข้าใจวัฒนธรรมอย่างสำคัญและวิเคราะห์อย่างลึกซึ้งมากกว่ากลวิธีการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม อื่น ๆ 3) นักศึกษาชาวจีนและชาวไทยปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมทางวิชาการได้ดีและมีการจัดการตนเองในกลวิธีการปรับตัวทางวิชาการ และการสื่อสารเพื่อสนับสนุนการปรับตัวทางวิชาการในฐานะนักศึกษานานาชาติ การศึกษาแนะนำว่าการรวมกลยุทธ์ EPS ICS และ AAS ที่หลากหลายสามารถเข้าถึงความเชื่อของนักศึกษาและเสริมสร้างความสำเร็จในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษได้เป็นอย่างดี | th |
dc.language.iso | en | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | กลวิธีของการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม | th |
dc.subject | กลวิธีการออกเสียงภาษาอังกฤษ | th |
dc.subject | กลวิธีการปรับตัวทางวิชาการ | th |
dc.subject | Intercultural communication strategies | en |
dc.subject | English pronunciation strategies | en |
dc.subject | Academic adaptation strategies | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Human health and social work activities | en |
dc.subject.classification | Foreign languages | en |
dc.title | A STUDY OF INTERCULTURAL COMMUNICATION STRATEGIES, ENGLISH PRONUNCIATION STRATEGIES, AND ACADEMIC ADAPTATION STRATEGIES OF CHINESE AND THAI UNDERGRADUATE STUDENTS | en |
dc.title | การศึกษากลวิธีการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม กลวิธีการออกเสียงภาษาอังกฤษ และกลวิธีการปรับตัวทางวิชาการของนักศึกษาระดับปริญญาตรีชาวไทยและชาวจีน | th |
dc.type | Dissertation | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Khomkrit Tachom | en |
dc.contributor.coadvisor | คมกฤช ตาชม | th |
dc.contributor.emailadvisor | Khomkrit.Ta@up.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | Khomkrit.Ta@up.ac.th | |
dc.description.degreename | Doctor of Philosophy (Ph.D. (English)) | en |
dc.description.degreename | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด. (ภาษาอังกฤษ)) | th |
dc.description.degreelevel | Doctoral Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาเอก | th |
dc.description.degreediscipline | English | en |
dc.description.degreediscipline | ภาษาอังกฤษ | th |
Appears in Collections: | School of Liberal Arts |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
60114103.pdf | 14.22 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.