Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/695
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Wannutcha Thepwong | en |
dc.contributor | วันณัชชา เทพวงศ์ | th |
dc.contributor.advisor | Niti Iamcheun | en |
dc.contributor.advisor | นิติ เอี่ยมชื่น | th |
dc.contributor.other | University of Phayao | en |
dc.date.accessioned | 2024-02-13T14:37:59Z | - |
dc.date.available | 2024-02-13T14:37:59Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 7/3/2023 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/695 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this research were to study the land use change, the relationship between geographical factors affecting land use and compare models to forecast land use change. It is conducted by using CA-Markov model, CLUMondo model, GEOSOS-Flus model, Chiang Rai province in A.D.2000, A.D.2005, A.D.2010, A.D.2015 - A.D.2020. Land uses are classified into 7 categories; Paddy field area, Grass area, Perennial area, forest area, miscellaneous land, urban area, water body. The finding of land use change found that land use that tends to increase, are Perennial area, urban area, water body. The areas that have a tendency to decline every year are forest area, miscellaneous land. Paddy field area it tends to increase in A.D.2005, A.D.2018 and tends to decrease in A.D.2010, A.D.2015-A.D.2020 and grass area there is a tendency to increase in A.D.2010, A.D.2018-A.D.2020, and it tends to decrease in A.D.2005, A.D.2015-A.D.2017. The study of the relationship between geographical factors affecting land use revealed that the 7 of land use were related to almost all factors, There is only the rainfall, that is not related to the use of Grass area land use in A.D.2016, The miscellaneous land there are factors rainfall, stream, border trade, DEM (digital elevation model) and village, relative to miscellaneous land land use every year. Comparing models for forecasting land use change, it was found that short-term forecast (every 1 year, 1 period), mid-term forecast (every 5 years, 5 periods), long-term forecasts (every 10 years, 10 periods). That overall accuracy 80.47-90.23, 82.03- 88.28, 81.64-83.20, and Kappa coefficients 74.74-86.71, 74.84-84.84, 76.44-78.21, respectively. | en |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านภูมิศาสตร์ที่มีผลต่อการใช้ที่ดิน และเปรียบเทียบแบบจำลองในการคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน โดยใช้แบบจำลอง CA-Markov แบบจำลอง CLUMondo แบบจำลอง GEOSOS-Flus บริเวณพื้นที่จังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2543, พ.ศ. 2548, พ.ศ. 2553, พ.ศ. 2558 - พ.ศ. 2563 โดยจำแนกรูปแบบการใช้ที่ดินออกเป็น 7 ประเภท ได้แก่ พื้นที่นาข้าว พื้นที่ทุ่งหญ้า พื้นที่ไม้ยืนต้น พื้นที่ป่าไม้ พื้นที่เบ็ดเตล็ด/อื่นๆ พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง และพื้นที่แหล่งน้ำ ผลการศึกษาพบว่า การปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี ได้แก่ พื้นที่ไม้ยืนต้น พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง และพื้นที่แหล่งน้ำ ส่วนพื้นที่ที่มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่องทุกปี ได้แก่ พื้นที่ป่าไม้ และพื้นที่เบ็ดเตล็ด/อื่นๆ ส่วนพื้นที่นาข้าว มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2548 และพ.ศ. 2561 และมีแนวโน้มลดลงในปี พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2558-พ.ศ. 2563 และพื้นที่ทุ่งหญ้า มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2561-พ.ศ. 2563 และมีแนวโน้มลดลงในปี พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2558-พ.ศ. 2560 การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านภูมิศาสตร์ที่มีผลต่อการใช้ที่ดิน พบว่า การใช้ที่ดินทั้ง 7 ประเภทมีความสัมพันธ์กับปัจจัย แทบทั้งหมด มีเพียงปัจจัยปริมาณน้ำฝน ที่ไม่สัมพันธ์กับการใช้ที่ดินประเภททุ่งหญ้าปี พ.ศ. 2559 และพื้นที่เบ็ดเตล็ด/อื่นๆ มีเพียงปัจจัยปริมาณน้ำฝน เส้นทางน้ำ แหล่งการค้าชายแดน ความสูงเชิงเลข และหมู่บ้าน ที่สัมพันธ์กับการใช้ที่ดินประเภทเบ็ดเตล็ด/อื่นๆทุกปี และเปรียบเทียบแบบจำลองในการคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน พบว่า การคาดการณ์แบบช่วงระยะสั้น (ทุก 1 ปี 1 ช่วง) การคาดการณ์แบบช่วงระยะกลาง (ทุก 5 ปี 5 ช่วง) และการคาดการณ์แบบช่วงระยะยาว (ทุก 10 ปี 10 ช่วง) มีค่าความถูกต้องเชิงพื้นที่ตั้งแต่ 80.47-90.23, 82.03- 88.28 และ 81.64-83.20 และค่าสัมประสิทธิ์แคปปา 74.74-86.71, 74.84-84.84 และ 76.44-78.21 ตามลำดับ | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | การใช้ที่ดิน | th |
dc.subject | แบบจำลอง CA-Markov | th |
dc.subject | แบบจำลอง CLUMondo | th |
dc.subject | แบบจำลอง GEOSOS-Flus | th |
dc.subject | land use | en |
dc.subject | CA-Markov model | en |
dc.subject | CLUMondo model | en |
dc.subject | GEOSOS-Flus | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Earth science | en |
dc.title | Optimum Predictive Model for Land Use and Land Cover Change Prediction in Chiang Rai Province | en |
dc.title | แบบจำลองการพยากรณ์ที่เหมาะสมสำหรับการพยากรณ์การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและสิ่งปกคลุมดินในจังหวัดเชียงราย | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Niti Iamcheun | en |
dc.contributor.coadvisor | นิติ เอี่ยมชื่น | th |
dc.contributor.emailadvisor | niti.ia@up.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | niti.ia@up.ac.th | |
dc.description.degreename | Master of Science (M.Sc. (Applied Geoinformatics)) | en |
dc.description.degreename | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.(ภูมิสารสนเทศประยุกต์)) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Applied Geoinformatics | en |
dc.description.degreediscipline | ภูมิสารสนเทศประยุกต์ | th |
Appears in Collections: | School of Information and Communication Technology |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62023496.pdf | 14.04 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.