Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/663
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Chayanee Jaikewlae | en |
dc.contributor | ฌญาณี ใจกิ่วแล | th |
dc.contributor.advisor | Kankanya Jaikarnwongsakul | en |
dc.contributor.advisor | กันย์กัญญา ใจการวงค์สกุล | th |
dc.contributor.other | University of Phayao | en |
dc.date.accessioned | 2023-06-22T05:21:54Z | - |
dc.date.available | 2023-06-22T05:21:54Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 7/3/2023 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/663 | - |
dc.description.abstract | This research study aims to compare the principles and essence of narcotics addiction treatment. Powers and duties of government agencies. compare the provisions of the law, Problem and differences, including advantages and disadvantages of compulsory treatment and the voluntary. Study the main law, namely the narcotics Addiction Rehabilitation Act, B.E. 2545 and including other laws as well as various documents both Thai and foreign to analyze the descriptive comparative data. The results of the study found that treatment and rehabilitation of narcotics addiction through compulsory treatment and the voluntary have consistent principles namely The narcotics user is a patient, not a criminal, Deviate from a criminal case, decriminalization with different treatment approaches. Treatment and rehabilitation of narcotics addiction through compulsory treatment will have judicial procedures along with the treatment of public health. There is justice agency as the main responsible agency. But the voluntary system of treatment will only operate in accordance with public health guidelines. The public health department is the main responsible unit. The public health agency is the main responsible unit. Current the compulsory treatment system was abolished and a voluntary system was introduced instead. There are still problems with recidivism and non-cooperation in treatment. The authors agreed that the conditions of those eligible for rehabilitation therapy should be increased. “Must have never escaped or not cooperated more than three times or Previously admitted to the hospital but was not certified in writing that it has been satisfactory treatment from the head of the hospital more than 3 times to limit the extent to those who truly need treatment voluntarily. | en |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบหลักการและสาระสำคัญของกระบวนการบำบัดฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติด อำนาจหน้าที่หน่วยงานรัฐ เทียบเคียงบทบัญญัติของกฎหมาย สภาพปัญหาและความแตกต่าง ตลอดจน ข้อดี-ข้อเสียของระบบบังคับบำบัดและสมัครใจบำบัด เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาข้อมูลเอกสารจากพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. 2545 ประมวลกฎหมายยาเสพติด รวมถึงกฎหมายอื่น ๆ ตลอดจนเอกสารต่าง ๆ ทั้งของไทยและต่างประเทศ เพื่อนำมาวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาเปรียบเทียบ ผลการศึกษาพบว่า ระบบบังคับบำบัดและระบบสมัครใจบำบัดมีหลักการที่มีความสอดคล้องกัน คือ หลักผู้เสพคือผู้ป่วยมิใช่อาชญากร หลักการเบี่ยงเบนคดีอาญา และหลักการลดทอนความเป็นอาชญากรรม โดยมีแนวทางการบำบัดฟื้นฟูที่แตกต่างกัน ซึ่งระบบบังคับบัดจะมีขั้นตอนของกระบวนการยุติธรรมควบคู่ไปกับการบำบัดฟื้นฟูด้านสาธารณสุข โดยมีหน่วยงานยุติธรรมเป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก แต่ระบบสมัครใจบำบัดจะดำเนินการตามแนวทางสาธารณสุขเท่านั้น โดยมีหน่วยงานสาธารณสุขเป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก ซึ่งปัจจุบันระบบบังคับบำบัดถูกยกเลิกและนำระบบสมัครใจมาบังคับใช้แทน ซึ่งก็ยังมีปัญหาการกระทำความผิดซ้ำและการไม่ให้ความร่วมมือในการบำบัดฟื้นฟู ผู้ศึกษาจึงเห็นควรเพิ่มเงื่อนไขของผู้มีสิทธิบำบัดฟื้นฟูให้ต้องไม่เคยหลบหนีหรือไม่ให้ความร่วมมือมาแล้วเกินกว่าสามครั้งหรือเคยเป็นผู้เข้ารับบำบัดฟื้นฟูแต่ไม่ได้รับการรับรองเป็นหนังสือว่าเป็นผู้ผ่านการบำบัดฟื้นฟูที่น่าพอใจจากหัวหน้าสถานพยาบาลยาเสพติดหรือสถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดเกินกว่าสามครั้ง เพื่อจำกัดขอบเขตให้ผู้ที่ต้องการสมัครใจบำบัดฟื้นฟูอย่างแท้จริง | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | การบำบัดฟื้นฟู | th |
dc.subject | ระบบบังคับบำบัด | th |
dc.subject | ระบบสมัครใจบำบัด | th |
dc.subject | narcotics addiction treatment | en |
dc.subject | compulsory treatment | en |
dc.subject | treatment voluntary | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Human health and social work activities | en |
dc.subject.classification | Sociology and cultural studies | en |
dc.title | A comparative study of the process of treatment and rehabilitation for the narcotics addicted persons with compulsory and voluntary treatment system | en |
dc.title | การศึกษาเปรียบเทียบกระบวนการบำบัดและฟื้นฟูสำหรับผู้ติดยาเสพติดด้วยระบบบังคับบำบัดและสมัครใจบำบัด | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง | th |
dc.contributor.coadvisor | Kankanya Jaikarnwongsakul | en |
dc.contributor.coadvisor | กันย์กัญญา ใจการวงค์สกุล | th |
dc.contributor.emailadvisor | kankanya.ja@up.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | kankanya.ja@up.ac.th | |
dc.description.degreename | Master of Laws (LL.M.) | en |
dc.description.degreename | นิติศาสตรมหาบัณฑิต (น.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | en | |
dc.description.degreediscipline | th | |
Appears in Collections: | School of Law |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63033173.pdf | 3.23 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.