Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/656
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorJakkit Wichapornen
dc.contributorจักรกฤษ วิชาพรth
dc.contributor.advisorPayungsuk Intawichaen
dc.contributor.advisorพยุงศักดิ์ อินต๊ะวิชาth
dc.contributor.otherUniversity of Phayaoen
dc.date.accessioned2023-06-22T01:35:48Z-
dc.date.available2023-06-22T01:35:48Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued7/3/2023
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/656-
dc.description.abstractThe purpose of this study was determined the effects of pre-fattening weight on the production efficiency and ovarian quality obtained from slaughterhouses in Phayao Province. The first study examined the effects of pre-fattening weight on the production efficiency, data was collected from the farms of local farmers in Phayao Province for 3 production groups: 1) seventy buffalo average weight 203.11±5.77 kg. 2) sixty-three buffalo average weight 254.84±8.64 kg. 3) eighty-five buffalo average weight 317.27±21.08 kg. Result shown that group 1 have an average daily gain (ADG) 1.22±0.07 bester than group 2 1.12±0.07 kg/day and group 3 0.86±0.18 kg/day. The average profit per production cycle of buffalo group 1, 2 and 3 had a 4,225.66, 6,229.37 and 4,751.18 baht per head, respectively. Study 2 Quality of ovaries of buffaloes obtained from slaughterhouses in Phayao Province. Study 2.1 Comparison between buffalo with CL and without CL. The number of follicles in buffaloes without CL more than that with CL (7.84±2.59 vs 5.53±2.94), similar the number of oocytes found that the buffaloes without CL more than that with CL (4.66±1.12 vs 2.80±1.39). Study 2.2 Comparison between ovaries with CL and without CL of buffalo with CL. The number of follicles was not significantly different (P>0.05), while the ovary without CL had more oocytes than the ovary with CL. Therefore, we conclude the CL has a negative effect on follicular development and oocyte quality in swamp buffalo.en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาการขุนกระบือปลักในฟาร์มเกษตรกร และคุณภาพของรังไข่ที่ได้จากโรงฆ่าสัตว์ในจังหวัดพะเยา การศึกษาที่ 1 ศึกษาอิทธิพลของน้ำหนักก่อนเข้าขุนของกระบือปลักต่อประสิทธิภาพการผลิต โดยเก็บข้อมูลจากฟาร์มเกษตรกรในจังหวัดพะเยา จำนวน 3 กลุ่มการผลิต กลุ่มที่ 1 น้ำหนักเข้าขุนน้อย (203.11±5.77 กิโลกรัม) จำนวน 70 ตัว กลุ่มที่ 2 น้ำหนักปานกลาง (254.84±8.64 กิโลกรัม) จำนวน 63 ตัว และกลุ่มที่ 3 น้ำหนักมาก (317.27±21.08 กิโลกรัม) จำนวน 85 ตัว ผลการศึกษาพบว่า กระบือกลุ่มที่ 1 มีการเจริญเติบโตต่อวัน 1.22±0.07 กิโลกรัม สูงกว่ากลุ่มที่ 2 มีค่าเท่ากับ 1.12±0.07 กิโลกรัมต่อวัน และกลุ่ม 3 มีค่าเท่ากับ 0.86±0.18 กิโลกรัมต่อวัน เมื่อวิเคราะห์ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจในการขุนกระบือปลักในรอบการขุน พบว่า กระบือกลุ่ม 1, 2 และ 3 มีกำไรเฉลี่ย 4,225.66, 6,229.37 และ 4,751.18 บาทต่อตัว ตามลำดับ การศึกษาที่ 2 คุณภาพของรังไข่ของกระบือที่ได้จากโรงฆ่าสัตว์ในจังหวัดพะเยา การศึกษาที่ 2.1 เปรียบเทียบระหว่างรังไข่กระบือตัวที่ปรากฏ CL กับไม่ปรากฏ CL พบว่า กระบือที่ไม่ปรากฏ CL มี จำนวนฟอลลิเคิลมากกว่ากระบือที่ปรากฎ CL (7.84±2.59 vs 5.53±2.94) เช่นเดียวกับจำนวนเซลล์ไข่พบว่า การบือที่ไม่ปรากฏ CL มีจำนวนเซลล์ไข่มากว่ากระบือที่ปรากฎ CL (4.66±1.12 vs 2.80±1.39) การศึกษาที่ 2.2 เปรียบเทียบระหว่างรังไข่ข้างที่มี CL กับข้างที่ไม่มี CL ของกระบือที่ปรากฎ CL พบว่า จำนวนฟอลลิเคิลไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05) แต่รังไข่ข้างที่ไม่มี CL มีจำนวนเซลล์ไข่มากว่ารังไข่ข้างที่มี CL (3.43±1.52 vs 2.17±1.12) ดังนั้น สรุปได้ว่า CL ส่งผลต่อการพัฒนาฟอลลิเคิลและคุณภาพเซลล์ไข่ลดลงในกระบือปลักth
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectกระบือปลักth
dc.subjectรังไข่th
dc.subjectเซลล์ไข่th
dc.subjectการขุนth
dc.subjectประสิทธิภาพการเจริญเติบโตth
dc.subjectSwamp buffaloen
dc.subjectOvaryen
dc.subjectOocyteen
dc.subjectFatteningen
dc.subjectGrowth performancesen
dc.subject.classificationAgricultural and Biological Sciencesen
dc.subject.classificationAgriculture,forestry and fishingen
dc.subject.classificationCrop and livestock productionen
dc.titleThe study of buffalo fattening in farmers and ovarian quality obtained from slaughterhouses in phayao province  en
dc.titleการศึกษาการขุนกระบือปลักในฟาร์มเกษตรกร และคุณภาพของรังไข่ที่ได้จากโรงฆ่าสัตว์ในจังหวัดพะเยาth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorPayungsuk Intawichaen
dc.contributor.coadvisorพยุงศักดิ์ อินต๊ะวิชาth
dc.contributor.emailadvisorpayungsuk.in@up.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorpayungsuk.in@up.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Science (M.Sc. (Animal Science))en
dc.description.degreenameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม. (สัตวศาสตร์))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineAnimal Scienceen
dc.description.degreedisciplineสัตวศาสตร์th
Appears in Collections:School of Agriculture and Natural Resources

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61310168.pdf1.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.