Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/652
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNatthakritta Wisessumonen
dc.contributorณัฐกฤตา วิเศษสุมนth
dc.contributor.advisorSukalya Poothongen
dc.contributor.advisorสุกัลยา ภู่ทองth
dc.contributor.otherUniversity of Phayaoen
dc.date.accessioned2023-06-22T01:35:47Z-
dc.date.available2023-06-22T01:35:47Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued29/5/2023
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/652-
dc.description.abstractPapaya is an important economic fruit plant because its high demand for papaya fruit. Mass production of high-quality papaya seedlings is a crucial step in papaya cultivation. This research aimed to study the proper condition for shoot multiplication and root induction of papaya using plant tissue culture technique. The suitable sterile technique for papaya seeds was soaked with 250 ppm GA3 for 24 hours and sterilized with 4.5% NaOCl for 10 minutes. Then, sterilized seeds were cultured on ½ MS medium, which plants had the highest germination percentage. Next, the effects of nutrients and growth regulators on shoot multiplication and root induction of papaya TA151 cultivar and Khaek Dum cultivar were studied. Papaya TA151 cultivar had highest shoot multiplication when cultured with 0.5 MS and 1.0 MS medium, supplemented with 1.5% glucose. Moreover, the 1.5 MS medium, supplemented with 3.0% sucrose resulted in the highest shoot length. However, the medium modification, sugar and addition of FeNa-EDDHA had no effect on the growth of Khaek Dum cultivar. As for the study of plant growth regulators, it was found that 0.3 mg/l Thidiazuron (TDZ), supplemented with 0.1 mg/l 1-Naphthaleneacetic acid (NAA) was the most suitable medium for shoot multiplication of papaya TA151 cultivar. While shoot multiplication of Khaek Dum cultivar was MS medium supplemented with 6-Benzylaminopurine (BAP) at a concentration of 0.3 or 0.6 mg/l and 0.1 mg/l NAA.  In addition, medium supplemented with only 0.6 mg/l kinetin resulted in a high shoot multiplication as well. As for root induction, papaya Khaek Dum cultivar had the highest number of roots and root length when cultured on MS medium supplemented with 0.6 mg/l NAA in light condition.en
dc.description.abstractมะละกอเป็นไม้ผลที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจเนื่องมีความต้องการผลผลิตปริมาณมาก การผลิตต้นพันธุ์ให้ได้ปริมาณมากและมีคุณภาพจึงเป็นปัจจัยที่สำคัญในการปลูกมะละกอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการชักนำการเพิ่มปริมาณยอด และการชักนำรากของมะละกอด้วยเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช โดยพบว่าขั้นตอนการฟอกที่เหมาะสมคือการแช่เมล็ดมะละกอด้วย GA3 ความเข้มข้น 250 ppm นาน 24 ชั่วโมง ฟอกด้วย NaOCl ความเข้มข้น 4.5% นาน 10 นาที จากนั้นนำไปเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร 1/2MS ต้นพืชมีเปอร์เซ็นต์การงอกมากที่สุด  การศึกษาผลของธาตุอาหาร และสารควบคุมการเจริญเติบโตต่อการเพิ่มปริมาณยอดและการชักนำรากของมะละกอพันธุ์ TA151 และ พันธุ์แขกดำ พบว่า มะละกอพันธุ์ TA151 ให้ความเข้มข้นของธาตุอาหาร MS เป็น 0.5 และ 1.0 เท่า ร่วมกับการใช้กลูโคส 1.5% ให้จำนวนยอดมากที่สุด ส่วนการปรับธาตุอาหาร MS เป็น 1.5 เท่า และใช้ซูโครส 3.0% ให้ความสูงยอดดีที่สุด แต่อย่างไรก็ตามการปรับธาตุอาหาร น้ำตาล และการเติม FeNa-EDDHA ไม่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพันธุ์แขกดำ ส่วนการศึกษาผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตพืช พบว่า การใช้ Thidiazuron (TDZ) ความเข้มข้น 0.3 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ 1-Naphthaleneacetic acid (NAA) ความเข้มข้น 0.1 มิลลิกรัมต่อลิตร เหมาะสมที่สุดสำหรับการเพิ่มยอดของมะละกอพันธุ์ TA151 ในขณะที่การเพิ่มยอดของพันธุ์แขกดำสามารถใช้สูตรอาหารที่เติม 6-Benzylaminopurine (BAP) ความเข้มข้น 0.3 หรือ 0.6 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ NAA ความเข้มข้น 0.1 มิลลิกรัมต่อลิตร นอกจากนี้การเติม Kinetin ความเข้มข้น 0.6 มิลลิกรัมต่อลิตร อย่างเดียว ให้จำนวนยอดได้สูงเช่นกัน ส่วนการชักนำรากของมะละกอพันธุ์แขกดำ เมื่อเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์ที่มีการเติม NAA ความเข้มข้น 0.6 มิลลิกรัมต่อลิตร ในที่สว่าง ทำให้ต้นมะละกอมีจำนวนรากและความยาวรากดีที่สุด th
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectมะละกอ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การเพิ่มจำนวนยอด การชักนำรากth
dc.subjectPapaya Micropropagation Shoot multiplication and Rootingen
dc.subject.classificationAgricultural and Biological Sciencesen
dc.subject.classificationProfessional, scientific and technical activitiesen
dc.subject.classificationCrop and livestock productionen
dc.titleDEVELOPING MICROPROPAGATION TECHNIQUES FOR SHOOT MULTIPLICATION OF PAPAYA UNDER ASEPTIC CONDITIONen
dc.titleพัฒนาเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเพื่อเพิ่มปริมาณต้นมะละกอในสภาพปลอดเชื้อth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSukalya Poothongen
dc.contributor.coadvisorสุกัลยา ภู่ทองth
dc.contributor.emailadvisorsukalya.po@up.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorsukalya.po@up.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Science (M.Sc. (Agricultural Science))en
dc.description.degreenameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม. (วิทยาศาสตร์การเกษตร))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineAgricultural Scienceen
dc.description.degreedisciplineวิทยาศาสตร์การเกษตรth
Appears in Collections:School of Agriculture and Natural Resources

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61310113.pdf3.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.