Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/602
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorThaksaon Jommanopen
dc.contributorทักษอร จอมมานพth
dc.contributor.advisorSakorn Mekruksavanichen
dc.contributor.advisorสาคร เมฆรักษาวนิชth
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. School of Information and Communication Technologyen
dc.date.accessioned2022-09-16T07:36:20Z-
dc.date.available2022-09-16T07:36:20Z-
dc.date.issued7/2/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/602-
dc.descriptionMaster of Science Program (M.Sc. (Modern Information Technology Management))en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม. (การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่))th
dc.description.abstractIn E-learning system, multi-cognitive activities that support the effective promotion of critical thinking in line with essential skills in the 21st century. The researcher was interested in transforming the traditional learning process into a learning activity model based on the theory of multiple intelligences to enhance critical thinking skills through E-learning media. This research aimed 1. To develop learning activities, 2.To study the correlation between learning activity patterns, and learning achievement, 3.To study the correlation between learning activity patterns and critical thinking skill, and 4.To survey the satisfaction after using a series of learning activities. The population were 108 students who were studying in Grade 9, Demonstration School University of Phayao. Sample Radom Sampling was used to select 20 students. Research instruments used in this research were 1. E-learning lessons for promoting critical thinking and E-learning lessons for regular learning, 2.Pre-test and Post-test, 3.A critical thinking test, and 4.Satisfaction survey. Chi-Square test (levels of significance at 0.05), average, standard deviation, dependent values, t-test dependent, and correlation test were used to analyze data. The results revealed that; 1.The activities based on technology design process are correlated to academic achievement were the most correlation, the correlation coefficient = 10.77, C = 0.59 2.Learning activity patterns promoting critical thinking are correlated to learning activity patterns for regular learning , the correlation coefficient = 13.33, C = 0.63 3.The students who studied with the multiple intelligence had the highest logic intelligence at an average score of 3.35, based on the multiple intelligence score, 4.The satisfaction survey was at a high level with average level at 4.66 and standard deviation at 0.16. In summary, the learning activity patterns promoting critical thinking skill based on multiple intelligence theory are correlated to learning achievement and critical thinking skill. This was contributed to learning achievement in which post-test scores are higher than pre-test scores. Therefore, the students were able to use their potential for study and to succeed their goals.en
dc.description.abstractในระบบอีเลิร์นนิงต้องพัฒนากิจกรรมพหุปัญญาที่สนับสนุนการส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นตามเกณฑ์คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการคิดวิเคราะห์ สอดคล้องกับทักษะจำเป็นในศตวรรษที่ 21 ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนรู้แบบเดิมเป็นรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตามทฤษฎีพหุปัญญาผ่านสื่ออีเลิร์นนิง สำหรับวิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อพัฒนากิจกรรมการจัดการเรียนรู้ 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบกิจกรรรมการเรียนรู้กับทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 4. เพื่อสำรวจความพึงพอใจหลังการใช้ชุดกิจกรรม กลุ่มประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา จำนวน 4 ห้องเรียน 108 คน กลุ่มตัวอย่างได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย จำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. บทเรียนอีเลิร์นนิงแบบส่งเสริมทักษะและบทเรียนปกติ 2. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 3. แบบทดสอบการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 4. แบบสอบถามความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการทดสอบความสัมพันธ์ไคสแควร์ ทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ .05 การหาค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าทีแบบไม่เป็นอิสระ และการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ผลการวิจัยพบว่า 1. กิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการออกแบบเทคโนโลยีมีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมากที่สุด มีค่าสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์ = 10.77 และ ค่า C = 0.59 2. รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณมีความสัมพันธ์กับรูปแบบกิจกรรมแบบปกติ มีค่าสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์ = 13.33 และค่า C = 0.63 3. นักเรียนกลุ่มตัวอย่างมีความฉลาดด้านตรรกะมากที่สุด คะแนนเฉลี่ย 3.35 ตามเกณฑ์แบบมาตรประมาณค่า 4. ผลความพึงพอใจของนักเรียนอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.66 S.D.=0.16 โดยสรุปรูปแบบกิจกรรมส่งเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณตามทฤษฎีพหุปัญญามีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและสัมพันธ์กับทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จึงส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียนสูงขึ้นกว่าก่อนเรียนสามารถดึงศักยภาพของนักเรียนมาใช้ในการเรียนให้ประสบความสำเร็จได้เป็นอย่างดีth
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectการคิดอย่างมีวิจารณญาณ, รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้, การเรียนรู้ผ่านอีเลิร์นนิ่งth
dc.subjectCritical Thinkingen
dc.subjectLearning Activitiesen
dc.subjectE-Learningen
dc.subject.classificationComputer Scienceen
dc.titleDEVELOPMENT OF THE LEARNING ACTIVITIES OF MULTIIPLE INTELLIGENCES THEORY TO SUPPORT CRITICAL THINKING ENTITLED “TECHNOLOGY (DESIGN AND TECHNOLOGY 1) GRADE 9 IN E-LEARNINGen
dc.titleการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ตามทฤษฎีพหุปัญญา เพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ผ่านสื่ออีเลิร์นนิง สำหรับวิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี 1) นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:School of Information and Communication Technology

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59023953.pdf3.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.