Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/574
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPraphunphong Chinnaphongen
dc.contributorประพันธ์พงษ์ ชิณพงษ์th
dc.contributor.advisorChawalee Na thalangen
dc.contributor.advisorชวลีย์ ณ ถลางth
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. College of Managementen
dc.date.accessioned2022-07-27T03:28:51Z-
dc.date.available2022-07-27T03:28:51Z-
dc.date.issued17/10/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/574-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (Ph.D. (Tourism and Hotel Management))en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด. (การจัดการการท่องเที่ยวและโรงแรม))th
dc.description.abstractThe purposes of the research “Approaches to the Development and the Promotion of Raman Culture Tourism among the Provinces of the Chao Phraya Basin” were; 1) To study the demography of Thai Tourists’ behavior related to the Raman Cultural Tourism. 2) To compare their opinion towards the importance of marketing factors related to the Raman Cultural Tourism. 3) To evaluate the potentiality of the Raman Cultural Tourism. 4) To explore the development factors related to the Raman Cultural Tourism. 5) To analyze the digital marketing related to the Raman Cultural Tourism. and 6) To provide some guidelines related to the Raman Cultural Tourism Promotion and Development. The research was focused on Mixed Methodology which includes 1) Quantitative Research using a questionnaire to collect the data from 400 Thai tourists in the sampling region and the frequency value was described in percentage, average as well as standard deviation. In the process of hypothesis testing, the researcher has applied the Chi-square Test, t- test, One Way ANOVA as well as Scheffé Multiple Comparison Besides, 2) Qualitative Research was also applied to a sampling group of 33 in the interview process of community, academic personnel, as well as public and private organization related. The research study was found that 1) there were 7 factors of Thai Tourists’ behavior related to the Raman Cultural Tourism along the Chao Phraya Basin except gender. 2) There was no difference in their opinion towards the importance of marketing factors related to the Raman Cultural Tourism except the provinces the tourists have visited. 3) The potentiality of the Raman Cultural Tourism is very much outstanding in terms of tourism attractions, physical and activities. 4) The Raman Cultural Tourism factors are also outstanding in terms of attractions and activities. 5) Digital marketing related to the Raman Cultural Tourism is covered in all aspects especially the development of tourism news and social media. 6) The Raman Cultural Tourism Promotion and Development guidelines are suggested as CC-Raman Model: Communication, Co-Creation, Resources, Activities, Management, Authenticity and Net-working under 20 strategies of 60 projects.  en
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่อง แนวทางการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยววัฒนธรรมรามัญ กลุ่มจังหวัดลุ่มน้ำเจ้าพระยามีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะทางประชากรศาสตร์ของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมในการท่องเที่ยววัฒนธรรมรามัญ 2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่อระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดการท่องเที่ยววัฒนธรรมรามัญ 3) ประเมินศักยภาพการท่องเที่ยววัฒนธรรมรามัญ 4) สำรวจองค์ประกอบการท่องเที่ยวที่ใช้ในการพัฒนาการท่องเที่ยววัฒนธรรมรามัญ 5) วิเคราะห์การตลาดดิจิทัลที่ใช้ในการส่งเสริมการท่องเที่ยววัฒนธรรมรามัญ และ 6) นำเสนอแนวทางการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยววัฒนธรรมรามัญ งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสม (Mixed Methodology) 1) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) เก็บข้อมูลแบบสอบถามจากนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เดินทางมาท่องเที่ยวภายในแหล่งท่องเที่ยววัฒนธรรมรามัญ กลุ่มจังหวัดลุ่มน้ำเจ้าพระยา จำนวน 400 คน โดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สำหรับการทดสอบสมมติฐานใช้การทดสอบไคสแควร์ การทดสอบค่าที การทดสอบความแปรปรวนแบบจำแนกทางเดียว และการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ ด้วยวิธีการเปรียบเทียบพหุคูณ (Multiple Comparison) ของ Scheffé และ 2) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก จากภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน และนักวิชาการ จำนวน 33 คน โดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหาและการตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า ผลการศึกษาพบว่า 1) ลักษณะทางประชากรศาสตร์ของนักท่องเที่ยวชาวไทยมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมในการท่องเที่ยววัฒนธรรมรามัญ กลุ่มจังหวัดลุ่มน้ำเจ้าพระยา 7 ด้าน ยกเว้นด้านเพศ 2) นักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีลักษณะทางประชากรศาสตร์ต่างกันมีความคิดเห็นต่อระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมทางการท่องเที่ยววัฒนธรรมรามัญ กลุ่มจังหวัดลุ่มน้ำเจ้าพระยาทุกด้านไม่ต่างกัน ยกเว้นจังหวัดที่นักท่องเที่ยวเดินทางไปท่องเที่ยว 3) ศักยภาพการท่องเที่ยววัฒนธรรมรามัญ โดยรวมมีครบทุกด้าน มีความความโดดเด่นด้านศักยภาพด้านดึงดูดใจด้านการท่องเที่ยว และศักยภาพด้านกายภาพและกิจกรรม 4) องค์ประกอบการท่องเที่ยววัฒนธรรมรามัญ โดยรวมมีครบทุกด้าน มีความโดดเด่นด้านแหล่งดึงดูดใจทางการท่องเที่ยวและด้านกิจกรรมการท่องเที่ยว 5) การตลาดดิจิทัลที่ใช้ในการส่งเสริมการท่องเที่ยว โดยรวมมีครบทุกด้าน มีความโดดเด่นด้านการพัฒนาข่าวสารร่วมกัน และด้านพื้นที่สื่อสังคมออนไลน์ 6) แนวทางการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยววัฒนธรรมรามัญกลุ่มจังหวัดลุ่มน้ำเจ้าพระยา โดยรูปแบบ CC-RAMAN Model ประกอบด้วย การสื่อสาร (Communication) การพัฒนาข่าวสารร่วมกัน (Co-Creation) ทรัพยากร (Resources) กิจกรรม (Activities)  การบริหารจัดการ (Management) ความเป็นของจริง (Authenticity) และการสร้างเครือข่าย (Networking) โดยมี 20 กลยุทธ์ 60 โครงการth
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectการท่องเที่ยววัฒนธรรมรามัญth
dc.subjectการพัฒนาการท่องเที่ยวth
dc.subjectการส่งเสริมการท่องเที่ยวth
dc.subjectRaman Cultural Tourismen
dc.subjectTourism Developmenten
dc.subjectTourism Promotionen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleApproaches to the Development and the Promotion of Raman Culture Tourism among the Provinces of the Chao Phraya Basinen
dc.titleแนวทางการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยววัฒนธรรมรามัญ กลุ่มจังหวัดลุ่มน้ำเจ้าพระยาth
dc.typeDissertationen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:School of Management and Information Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62160229.pdf8.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.