Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/565
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Naowarat Kongtan | en |
dc.contributor | เนาวรัตน์ กองตัน | th |
dc.contributor.advisor | Thidawan Unkong | en |
dc.contributor.advisor | ธิดาวัลย์ อุ่นกอง | th |
dc.contributor.other | University of Phayao. School of Education | en |
dc.date.accessioned | 2022-07-25T07:39:43Z | - |
dc.date.available | 2022-07-25T07:39:43Z | - |
dc.date.issued | 7/2/2022 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/565 | - |
dc.description | Doctor of Philosophy (Ph.D (Educational Administration)) | en |
dc.description | การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด. (การบริหารการศึกษา)) | th |
dc.description.abstract | This research aimed 1) to study the compositions and the methods of Provincial Kindergarten School Administration by using Innovation and Information Technology-Based Instruction. There were two steps : the compositions study was collected from 348 people by doing the questionaries, and the methods study were interviewed 5 school directors who had the best practices of school administrations. 2) to create Administration model of Provincial Kindergarten School by using Innovation and Information Technology – Based Instruction. The collected data was two steps : to focus group discussion from a group of 9 experts and evaluated about coverage and suitability, and 3) to assess Administration model of Provincial Kindergarten School by using Innovation and Information Technology–Based Instruction about the feasibility and usefulness of the model. The sample was 200 people who were required to do the questionaries. The results found that 1) the compositions were seven compositions of Administration model of Provincial Kindergarten School Administration by using Innovation and Information Technology-Based Instruction included, Suppliers, Input, Process, Output, Outcome, Customers & Stakeholders, Feedback 2) this model was composed of 3 parts ; (1) introduction, (2) content about the compositions of Provincial Kindergarten School Administration by using Innovation and Information Technology-Based Instruction and (3) the key success factors in using models such as leadership and participation , the model showed that coverage and suitability was at the highest level, and 3) followed by the usefulness reached to the highest level, and feasibility was at a high level, respectively. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบและแนวทางการบริหารโรงเรียนอนุบาลประจำจังหวัดโดยใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นฐาน มีขั้นตอนการวิจัย 2 ขั้นตอน คือ การศึกษาองค์ประกอบโดยการสอบถามกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 348 คนและการศึกษาแนวทางการบริหารโดยการสัมภาษณ์ผู้อำนวยการโรงเรียนที่มีวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) จำนวน 5 คน 2) เพื่อสร้างรูปแบบการบริหารโรงเรียนอนุบาลประจำจังหวัดโดยใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นฐาน มีขั้นตอนการวิจัย 2 ขั้นตอนคือ การยกร่างรูปแบบและการประเมินความความเหมาะสมของรูปแบบโดยการสนทนากลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 9 คน และ 3) เพื่อประเมินรูปแบบการบริหารโรงเรียนอนุบาลประจำจังหวัดโดยใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นฐาน โดยการสอบถามกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 200 คนผลการวิจัย พบว่า 1) องค์ประกอบของรูปแบบการบริหารโรงเรียนอนุบาลประจำจังหวัดโดยใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นฐาน 7 ด้าน ได้แก่ (1) ด้านผู้ส่งมอบนโยบายและผู้สนับสนุนโรงเรียน (Suppliers) (2) ด้านปัจจัยนำเข้า (Input) (3) ด้านกระบวนการ (Process) (4) ด้านผลผลิต (Output) (5) ด้านผลลัพธ์ของโรงเรียน (Outcome) (6) ด้านผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของโรงเรียน (Customers & Stakeholders) และ (7) ด้านผลสะท้อนกลับ(Feedback) 2) รูปแบบประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ส่วนนำ ส่วนที่ 2 เนื้อหา ประกอบด้วยองค์ประกอบการบริหารโรงเรียนอนุบาลประจำจังหวัดโดยใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นฐาน และส่วนที่ 3 ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการนำรูปแบบไปใช้ ประกอบด้วย ภาวะผู้นำและการมีส่วนร่วม ซึ่งรูปแบบมีความครอบคลุมและความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด3) มีความเป็นไปได้ในการนำรูปแบบไปใช้อยู่ในระดับมาก และความเป็นประโยชน์อยู่ในระดับมากที่สุด | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | รูปแบบการบริหาร, โรงเรียนอนุบาลประจำจังหวัด, นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นฐาน | th |
dc.subject | Administration Model Provincial Kindergarten School Innovation and Information Technology – Based Instruction | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.title | ADMINISTRATION MODEL OF PROVINCIAL KINDERGARTEN SCHOOL BY USING INNOVATION AND INFORMATION TECHNOLOGY – BASED INSTRUCTION | en |
dc.title | รูปแบบการบริหารโรงเรียนอนุบาลประจำจังหวัดโดยใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นฐาน | th |
dc.type | Dissertation | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | School of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
58208193.pdf | 10.73 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.