Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/554
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Panwipa Somsaard | en |
dc.contributor | พรรณวิภา สมสะอาด | th |
dc.contributor.advisor | Sopa Umnuayrat | en |
dc.contributor.advisor | โสภา อำนวยรัตน์ | th |
dc.contributor.other | University of Phayao. School of Education | en |
dc.date.accessioned | 2022-07-25T04:51:16Z | - |
dc.date.available | 2022-07-25T04:51:16Z | - |
dc.date.issued | 7/2/2022 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/554 | - |
dc.description | Doctor of Philosophy (Ph.D (Educational Administration)) | en |
dc.description | การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด. (การบริหารการศึกษา)) | th |
dc.description.abstract | The research aimed at developing an academic administration model to enhancing the professional competence of students in secondary schools under the office of the basic education commission. The research procedures followed 3 step, 1) studying the components and guidelines for academic administration to enhance professional competence of students in secondary schools through related research and documents, Used questionnaires and Investigated guidelines for academic administration to enhance students' professional competence in 5 best practice schools. Data analysis was made through content analysis, means and standard deviation. 2) Constructing and validating the model of an academic administration to enhancing the professional competence of students in secondary schools on the data obtained from step 1, validating the model by FGO with 9 experts, 3) Valuating the model of an academic administration to enhancing the professional competence of students in secondary schools by data analyzed using were means and standard deviation. The research found, the model of an academic administration to enhancing the professional competence of students consisted of 4 components: 1) principles and objectives 2) the committee of academic administration, 3) the administrative process of services and 4) Productivity and success factors. The constructed model has been validated and evaluated by school administration as possibility at high and at the highest usefulness. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะทางวิชาชีพของนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิธีดำเนินการวิจัยมี 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1) การศึกษาองค์ประกอบและแนวทางการบริหาร งานวิชาการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะทางวิชาชีพของนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา โดยการสังเคราะห์เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ใช้แบบสอบถาม และศึกษาแนวทางการบริหารงานวิชาการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะทางวิชาชีพของนักเรียนในโรงเรียนที่มีวิธีปฏิบัติที่ดี จำนวน 5 แห่ง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา การหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2) การสร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะทางวิชาชีพของนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา โดยนำข้อมูลจากขั้นตอนที่ 1 มายกร่าง และตรวจสอบรูปแบบโดยการสนทนากลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 9 คน และ 3) การประเมินรูปแบบการบริหารงานวิชาการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะทางวิชาชีพของนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหารสถานศึกษาจำนวน 58 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า ผลการศึกษาองค์ประกอบและแนวทางการบริหารงานวิชาการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะทางวิชาชีพของนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา ได้รูปแบบการบริหารงานวิชาการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะทางวิชาชีพของนักเรียน ประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่ 1) หลักการและวัตถุประสงค์ 2) ขอบข่ายการบริหารงานวิชาการ 3) กระบวนการบริหารงานวิชาการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะทางวิชาชีพของนักเรียน และ 4) ผลผลิตและปัจจัยแห่งความสำเร็จ ผลการประเมินความเหมาะสมของรูปแบบฯ อยู่ในระดับมาก ผลการประเมินความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก และความเป็นประโยชน์อยู่ในระดับมากที่สุด | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | รูปแบบการบริหาร | th |
dc.subject | การบริหารงานวิชาการ | th |
dc.subject | สมรรถนะทางวิชาชีพ | th |
dc.subject | Academic Administration | en |
dc.subject | Admimistration Model | en |
dc.subject | Enhance Professional Competencies | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | ACADAMIC ADMINISTRATION MODEL TO ENHANCE PROFESSIONAL COMPETENCIES OF STUDENT IN SECONDARY SCHOOL UNDER THE OFFICE OF THE BASIC EDUCATUON COMMISSION | en |
dc.title | รูปแบบการบริหารงานวิชาการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะทางวิชาชีพของนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน | th |
dc.type | Dissertation | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | School of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
60207072.pdf | 8.6 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.