Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/546
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorAsanee Porananonden
dc.contributorอัสนี โปราณานนท์th
dc.contributor.advisorNamfon Gunmaen
dc.contributor.advisorน้ำฝน กันมาth
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. School of Educationen
dc.date.accessioned2022-07-25T03:49:19Z-
dc.date.available2022-07-25T03:49:19Z-
dc.date.issued9/7/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/546-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.abstractThe purpose of this research was 1) to study technological leadership of school administrators under Phayao Primary Educational Service Area Office 1, and 2) to study guidelines for development of technological leadership of school administrators under Phayao Primary Educational Service Area Office 1. The target group of this study were 76 school administrators under Phayao Primary Educational Service Area Office 1. The research instruments were 1) a 5-level rating scale questionnaire which the data were analyzed in terms of descriptive statistics including frequency, percentage, mean and standard deviation. And 2) a semi-structured interview form which was obtained by interviewing then analyzed by content analysis. Research findings were as follows: 1) The overview of technological leadership level of the school administrators under Phayao Primary Educational Service Area Office 1 was at high level in overall. When considering each aspect, Leadership and Vision received the highest mean, followed by Productivity and Professional; Social, Legal and Ethical Issues; Learning and Teaching; Support, Management, and Operation; and Assessment and Evaluation, respectively. 2) the guidelines for development of technological leadership were as follows; 2.1) Assessment and Evaluation: They should be developed in creating an explicit guideline and tools for using technology in assessment and evaluation area; 2.2) Support, Management and Operation: They should be developed in analytical thinking and strategically planning for supporting technology. They must also act as a leader in data transforming and a liaison by bringing up a cooperation from outside network; 2.3) Learning and Teaching: They should consistently practice in teaching and lesson plan designing, also developing Key Performance Indicators for teachers using technology as part of their responsibilities; 2.4) Social, Legal and Ethical Issues: They should attain a comprehensive knowledge in technological-related laws and regulations, and engage the concepts through mixed approaches to personnel; 2.5) Productivity and Professional: Learning new technology should be part of their daily routine. They should be developed in Knowledge Management and systematically apply to the school personnel training program; and 2.6) Leadership and Vision: They should be trained in strategic planning and demonstrate shared vision among school personnel, SWOT analysis, and also learn from best practice.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 1 และ 2) แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 1 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 1 จำนวน 76 คน โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ 2) แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์นำมาวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยมีดังนี้ 1) ระดับภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับจากมากไปน้อยดังนี้ ด้านความเป็นผู้นำและวิสัยทัศน์, ด้านผลิตภาพและความชำนาญเชิงวิชาชีพ, ด้านสังคม กฎหมาย และจริยธรรม, ด้านการเรียนรู้และ การสอน, ด้านการสนับสนุน การจัดการและการปฏิบัติการ และด้านการวัดและประเมินผล ตามลำดับ 2) แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษา พบว่า 1) ด้านการวัดและประเมินผล ควรได้รับการพัฒนาการออกแนวปฎิบัติการใช้เทคโนโลยีเพื่อการวัดและประเมินผล การสร้างเครื่องมือการวัด และประเมินผลที่สอดคล้องกับการออกแบบการเรียนรู้ 2) ด้านการสนับสนุน การจัดการ และการปฏิบัติการ ควรพัฒนาทักษะการวางแผนช่วยเหลือที่ตรงกับความต้องการของบุคลากร เป็นผู้นำการเข้าสู่ระบบฐานข้อมูล แสวงหาเครือข่ายจากองค์กรภายนอก 3) ด้านสังคม กฎหมาย และจริยธรรม ควรศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้อง สามารถถ่ายทอดประเด็นปัญหาโดยวิธีการที่หลากหลาย และได้รับการอบรมการออกระเบียบและมาตรการ ที่สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีในสถานศึกษา 4) ด้านการเรียนรู้และการสอน ควรพัฒนาทักษะการสอน การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้การกำหนดแนวปฎิบัติ และการสร้างเกณฑ์ประสิทธิภาพของบุคลากรในการใช้เทคโนโลยี 5) ด้านผลิตภาพและความชำนาญเชิงวิชาชีพ ควรศึกษาการใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆ อยู่เสมอ พัฒนาทักษะ ด้านการจัดการความรู้ และการฝึกบุคลากรอย่างเป็นระบบ และ 6) ด้านความเป็นผู้นำและวิสัยทัศน์ ควรได้รับ การฝึกฝนด้านการวางแผนและการกำหนดวิสัยทัศน์ที่สามารถชักนำการสร้างวิสัยทัศน์ร่วม ฝึกฝนการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ และเรียนรู้จากผู้บริหารต้นแบบth
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectผู้นำเชิงเทคโนโลยีth
dc.subjectTechnological Leadershipen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleGUIDELINES FOR DEVELOPMENT OF TECHNOLOGICAL LEADERSHIP OF SCHOOL ADMINISTRATORS UNDER PHAYAO PRIMARY EDUCATIONALSERVICE AREA OFFICE 1en
dc.titleแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 1th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62206613.pdf1.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.