Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/543
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Sasiporn Suwannarat | en |
dc.contributor | ศศิภรณ์ สุวรรณรัตน์ | th |
dc.contributor.advisor | Sunthon Khlal um | en |
dc.contributor.advisor | สุนทร คล้ายอ่ำ | th |
dc.contributor.other | University of Phayao. School of Education | en |
dc.date.accessioned | 2022-07-25T03:49:19Z | - |
dc.date.available | 2022-07-25T03:49:19Z | - |
dc.date.issued | 9/7/2021 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/543 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed. (Educational Administration)) | en |
dc.description | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา)) | th |
dc.description.abstract | The objectives of this study were: 1) to study the School Administration According to School’s Sufficiency Education Policy of Mae Moe District Lampang Province under the Primary Education Service Area Office, Lampang District 1, and 2) to compare options towards the School Administration According to School’s Sufficiency Education Policy of Mae Moe District Lampang Province under the Primary Education Service Area Office, Lampang District 1. The classified by Position, Educational Background, and Work Experience with the sample of School Administrators and Teachers to School’s Sufficiency Education Policy of Mae Moe District Lampang Province under the Primary Education Service Area Office, Lampang District 1 from 17 schools using ready-made Krecie and Morgan's tables to compare the size of the population at 260 people obtained a total sample of 155 people. A check point questionnaire with 5 rating scale of characteristics was as a tool to collect data and the statistics used were frequency, percentage, mean, standard division (S.D.), and analysis for comparison using value testing of T-test, F-test (ANOVA) by statistical significance at .05 level. The research results revealed that: 1) the School Administration According to School’s Sufficiency Education Policy as perceived by samples of research was overall at a high level; Education Program and Management, Development of Leaning Activity, and Human Resource Development of School. 2) the comparison result of the School Administrators and Teachers to School Administration According to School’s Sufficiency Education Policy in different positions were overall no different and as for individual aspects were no difference. Differences in Education Background were overall no difference in opinion to School Administration According to School’s Sufficiency Education Policy, and it was overall no difference. Differences of Work Experience in opinion to School Administration According to the School’s Sufficiency Education Policy were overall no different. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารสถานศึกษาตามนโยบายสถานศึกษาพอเพียงในอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อการบริหารสถานศึกษาตามนโยบายสถานศึกษาพอเพียง ในอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 จำแนกตาม ตำแหน่ง วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครู ของสถานศึกษาในอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 จำนวน 17 โรงเรียน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นตามตำแหน่ง ใช้ตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน เทียบขนาดของประชากรที่ 260 คน ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 155 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมีลักษณะเป็นแบบ มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และใช้วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว โดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากผลการวิจัย พบว่า 1) การบริหารสถานศึกษาตามนโยบายสถานศึกษาพอเพียง ในอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 มีการบริหารสถานศึกษาตามนโยบายสถานศึกษาพอเพียง โดยรวมและในแต่ละด้าน ทุกด้าน อยู่ในระดับมาก เรียงตามลำดับดังนี้ ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา ด้านการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และด้านการพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษา 2) จากผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครู ที่มีต่อการบริหารสถานศึกษาตามนโยบายสถานศึกษาพอเพียง ในอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 ที่มีตำแหน่งต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารสถานศึกษาตามนโยบายสถานศึกษาพอเพียงโดยรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านไม่แตกต่างกัน ผู้บริหารสถานศึกษา และครู ที่มีระดับการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารสถานศึกษาตามนโยบายสถานศึกษาพอเพียงโดยรวมไม่แตกต่างกัน และรายด้านทุกด้านไม่แตกต่างกัน และผู้บริหารสถานศึกษา และครู ที่มีประสบการณ์ในการทำงานที่ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารสถานศึกษาตามนโยบายสถานศึกษาพอเพียงโดยรวม ไม่แตกต่างกัน | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | การบริหารสถานศึกษา | th |
dc.subject | สถานศึกษาพอเพียง | th |
dc.subject | School Administration | en |
dc.subject | School Sufficiency | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | SCHOOL ADMINISTRATION ACCORDING TO SCHOOL’S SUFFCIENCY EDUCATIONPOLICY OF MAE MOE DISTRICT LAMPANG PROVINCE UNDER THE PRIMARYEDUCATION SERVICE AREA OFFICE, LAMPANG DISTRICT 1 | en |
dc.title | การบริหารสถานศึกษาตามนโยบายสถานศึกษาพอเพียง ในอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง | th |
Appears in Collections: | School of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62206567.pdf | 2.46 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.