Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/535
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorMatthani Khitwongen
dc.contributorมัทนี คิดว่องth
dc.contributor.advisorSanti Buranacharten
dc.contributor.advisorสันติ บูรณะชาติth
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. School of Educationen
dc.date.accessioned2022-07-25T03:49:17Z-
dc.date.available2022-07-25T03:49:17Z-
dc.date.issued9/7/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/535-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.abstractThe objectives of this study were 1) to study the State and Approach of Bilingual School Management under Secondary Educational Service Area Office 36 with a sample of research by 118 cases which are school administrator (35 cases) and a teacher in charge of the project (83 cases); a rating scale questionnaire was as a tool to collect data and the statistics used were mean and standard division (S.D.). And 2) to study the guideline of Bilingual School Management which was interviewed by 5 experts; a semi-structured interview questionnaire and analysis by the Content Analysis. The research findings were below; 1. The State and Approach of Bilingual School Management were overall at a high level. As in each aspect followed by Academic Administration, Budget Management, General Management and Personnel Management.  2. the guideline of Bilingual School Management was found that Academic Management is a priority to represents the Bilingual School effectiveness and the executives better in excellent vision, well planned and follow by the academic instructions. The Budget Management adheres to achievement motivation, performance based on budgeting, and focusing of related organizations by the project in line with the vision and mission. Personnel Management should promote personnel flexibility, independence in regulations, and none-stop development. To support the teachers passes assessments and evaluations as a reference to English Language Proficiency (CEFR)., encourage to create an organizational culture for knowledge exchange. The General Management should play a key role in coordination, support, and facilitation. Provides necessary tools, and creates an atmosphere for learning.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการบริหารโรงเรียนสองภาษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียนสองภาษา จำนวน 35 คน และครูผู้รับผิดชอบโครงการ จำนวน 83 คน รวม 118 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเพื่อศึกษาแนวทางการบริหารโรงเรียนสองภาษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 จากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการบริหารโรงเรียนสองภาษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดได้แก่ ด้านการบริหารงานวิชาการ รองลงมา คือ ด้านการบริหารงานงบประมาณ ด้านการบริหารงานทั่วไป และด้านการบริหารงานบุคคล ตามลำดับ  2. แนวทางการบริหารโรงเรียนสองภาษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 พบว่า ด้านการบริหารงานวิชาการ ควรให้ความสำคัญมากที่สุดเพราะเป็นงานที่แสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนสองภาษา ผู้บริหารต้องมีวิสัยทัศน์ก้าวไกล มีกรอบการดำเนินงานที่ชัดเจน และดำเนินการตามกรอบงานวิชาการที่วางไว้ ด้านการบริหารงบประมาณควรยึดหลักการบริหารมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์และบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน มีการระดมทุนจากองค์กรผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง มีการจัดทำแผนงาน โครงการให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์พันธกิจของโครงการ ด้านการบริหารงานบุคคล ควรส่งเสริมให้การบริหารบุคคลให้เกิดความคล่องตัว อิสระภายใต้กฎระเบียบ มีการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมให้ครูผู้สอนผ่านทดสอบการวัดและประเมินผลตามกรอบอ้างอิงความสามารถทางภาษาอังกฤษที่เป็นสากล (CEFR) การสร้างขวัญและกำลังใจ สร้างวัฒนธรรมองค์กรให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และด้านการบริหารงานทั่วไป ผู้บริหารควรมีบทบาทหลักในการประสาน ส่งเสริม สนับสนุน และการอำนวยความสะดวกอย่างเหมาะสม จัดเตรียมให้บริการวัสดุ อุปกรณ์ ที่จำเป็นต่อการจัดกิจกรรม และจัดบรรยากาศให้เอื้อต่อการเรียนรู้ th
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectสภาพและแนวทางth
dc.subjectการบริหารth
dc.subjectโรงเรียนสองภาษาth
dc.subjectThe State and Approachen
dc.subjectManagementen
dc.subjectBilingual Schoolen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE STATE AND APPROACH OF BILINGUAL SCHOOL MANAGEMENTUNDER SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 36en
dc.titleสภาพและแนวทางการบริหารโรงเรียนสองภาษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62206466.pdf4.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.