Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/522
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTitiworrada Junmanen
dc.contributorฐิติวรดา จันทร์แมนth
dc.contributor.advisorSunthon Khlal umen
dc.contributor.advisorสุนทร คล้ายอ่ำth
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. School of Educationen
dc.date.accessioned2022-07-25T03:49:15Z-
dc.date.available2022-07-25T03:49:15Z-
dc.date.issued11/10/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/522-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to study the Education Management of Distance Learning Television of Small-Size Schools under Lampang Primary Education Service Area Office 3. 2) to compare Education Management of Distance Learning Television of Small-Size Schools under Lampang Primary Education Service Area Office 3. by educational background and working experience. The samples were 170 including the school administrators and teachers by Simple random simpling of Krejcie and Morgan. The tools used in this research are 5 level of questionnaire. The index of conformance is 1.00, and the confidence is 0.86. Data were analyzed through statistics including percentage, mean, standard deviation, t-test and one-way analysis of variance. The results of the study were as follows 1) The overall average level of the Education Management of Distance Learning Television of Small-Size Schools under Lampang Primary Education Service Area Office 3 was in a high level. The first mean score was provide learning and teaching equipment for the distance learning television at a high level, followed by organize of the school environment and classrooms conducive for the distance learning television at a high level, an internal supervision at a high level, support the distance learning television at a high level, impose a policy and implementation of distance education at a high level and  develop teachers and staff skills about distance learning television at a high level. 2) From the result of the comparison by educational background in the Education Management of Distance Learning Television of Small-Size Schools under Lampang Primary Education Service Area Office 3, there were 4 aspects had a statistically significant difference at 0.05 level. 3) From the result of the comparison by working experience in the Education Management of Distance Learning Television of Small-Size Schools under Lampang Primary Education Service Area Office 3, there were 4 aspects had a statistically significant difference at 0.05 level.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับการบริหารจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมของผู้บริหารสถานศึกษา สถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมของผู้บริหารสถานศึกษา สถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 จำแนกตามระดับการศึกษาและประสบการณ์ในการทำงาน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอน จำนวน 170 คน โดยการเปิดตารางของเครจซี่และมอร์แกน โดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ค่าดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 1.00 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.86 สถิติในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว จากผลการวิจัย พบว่า 1) ผลการศึกษาระดับการบริหารจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมของผู้บริหารสถานศึกษา สถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 อยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุดดังนี้ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ การจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม ระดับมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านการจัดสภาพห้องเรียน อาคารเรียน และสิ่งแวดล้อม ภายในสถานศึกษาให้เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม ระดับมาก และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการพัฒนาครูและบุคลากรเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม ระดับมาก 2) จากผลการเปรียบเทียบระดับการบริหารจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมของผู้บริหารสถานศึกษา สถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 จำแนกตามระดับการศึกษาแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ผลการเปรียบเทียบระดับการบริหารจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมของผู้บริหารสถานศึกษา สถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 จำแนกตามประสบการณ์ในการทำงานแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectการบริหารจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมth
dc.subjectEducation Management of Distance Learning Televisionen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleEDUCATION MANAGEMENT OF DISTANCE LEARNING TELEVISION OF SMALL- SIZE SCHOOLS UNDER LAMPANG PRIMARY EDUCATIONSERVICE AREA OFFICE 3en
dc.titleการบริหารจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมของผู้บริหารสถานศึกษาสถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62206309.pdf1.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.