Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/521
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorJanejira Tualueen
dc.contributorเจนจิรา ตัวลือth
dc.contributor.advisorSunthon Khlal umen
dc.contributor.advisorสุนทร คล้ายอ่ำth
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. School of Educationen
dc.date.accessioned2022-07-25T03:49:15Z-
dc.date.available2022-07-25T03:49:15Z-
dc.date.issued9/7/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/521-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.abstractThe objectives of this research are 1) to study the level of the behavioral leadership of school administrators schools expand educational opportunities under Lampang primary education service area office 3, 2) to study the level of the motive for the performance of teachers schools expand educational opportunities under Lampang primary education service area office 3 and 3) to study the relationship between the behavioral leadership of school administrators the motive for the performance of teachers schools expand educational opportunities under Lampang primary education service area office 3. The sample consisted of 252 teacher administrators, divided into 60 administrators and 192 teachers in 12 schools, simple randomization. The instrument used was a 5-level estimation scale questionnaire with consistency value of 1.00 and confidence factor. 98, the statistic of data analysis consists of percentage, average (mean), standard deviation and Pearson's coefficient analysis. The results of research find that 1) the level of the behavioral leadership of school administrators schools expand educational opportunities under Lampang primary education service area office 3 is in good level considering it was found that; the behavioral leadership of school administrators schools at the highest level, including the leadership as a team is in good level, followed by the leader-oriented is in good level and the least is the leader is aimed at low people , 2) the level of the motive for the performance of teachers schools expand educational opportunities under Lampang primary education service area office 3 is in good level considering it was found that; the motive for the performance of teachers schools at the highest level, including the nature of the work performed is in good level, followed by the success of the operation is in good level and the least is the advancement in the career and 3) The study of the relationship between the behavioral leadership of school administrators the motive for the performance of teachers schools expand educational opportunities under Lampang primary education service area office 3 that; the level of the behavioral leadership of school administrators schools expand educational opportunities under Lampang primary education service area office 3 In all aspects There is no positive correlation with the motive for the performance of teachers schools not statistically significant.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 2) แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา กับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหาร ครูผู้สอนจำนวน 252 คน จำแนกเป็น ผู้บริหาร จำนวน 60 คน และครูผู้สอน จำนวน 192 คน จำนวน 12 โรงเรียน ทำการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความสอดคล้อง 1.00 และค่าความเชื่อมั่น .98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน จากผลการวิจัย พบว่า 1) ภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 โดยรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มีภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรม อยู่ในระดับมากที่สุด สูงสุด ได้แก่ ด้านผู้นำแบบทำงานเป็นทีม อยู่ในระดับมาก รองลงมา ได้แก่ ด้านผู้นำแบบมุ่งคนสูง อยู่ในระดับมากที่สุด และน้อยที่สุด ด้านผู้นำแบบมุ่งคนต่ำ อยู่ในระดับปานกลาง 2) แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 โดยรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า สูงสุด ได้แก่ ด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติ อยู่ในระดับมาก รองลงมา ได้แก่ ด้านความสำเร็จในการปฏิบัติงาน อยู่ในระดับมาก และน้อยที่สุด ได้แก่ ด้านความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน อยู่ในระดับมาก 3) จากการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา กับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 พบว่า ภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 ในภาพรวมทุกด้าน ไม่มีความสัมพันธ์ทางบวกกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติth
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมth
dc.subjectแรงจูงใจในการปฏิบัติงานth
dc.subjectBehavioral Leadershipen
dc.subjectPerformance Incentivesen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE LEADERSHIP BEHAVIOR OF THE SCHOOL ADMINISTRATORS THAT AFFECT IN THE PERFORMANCE OF THE TEACHERS MOTIVATION EXPAND EDUCATION SCHOOL OPPORTUNITIES LAMPANG PRIMARY EDUCATION SERVICE AREA OFFICE 3en
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62206297.pdf6.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.