Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/509
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorAdisak Jaipinen
dc.contributorอดิศักดิ์ ใจปินth
dc.contributor.advisorThararat Malaitaoen
dc.contributor.advisorธารารัตน์ มาลัยเถาว์th
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. School of Educationen
dc.date.accessioned2022-07-25T03:49:13Z-
dc.date.available2022-07-25T03:49:13Z-
dc.date.issued9/7/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/509-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.abstractThe research purposes were 1) to study the condition for using the information technology in schools. 2) to study the learning management  behaviors of teachers  in schools 3) to study the relationship between information technology and learning management behaviors of teachers  in schools . The samples are public teachers and educational personnel in schools of the ChiangRai Primary Educational Service Area Office 2, of 191 people, the researcher used stratified random sampling by dividing into levels. The tools for this data collection questionnaire with likert 5 level, IOC was between 0.67-1.00. Rating scales by finding Alpha Coefficient was 0.97.The statistics used for data analysis were mean, standard deviation. Content stability value Confidence value, alpha coefficient, And the Pearson correlation coefficient. The result showed that: 1) The information technology condition in schools, ChiangRai Primary Educational Service Area Office 2, had total part results in high level. The highest average were knowledge and skills of educational personnel, followed by management, for systems and computer equipment have lowest average. 2) The learning management behavior of teachers in schools, ChiangRai Primary Educational Service Area Office 2, had total part results in high level. The highest average were the psychological behavior, followed by the cognitive behavior, respectively, the cognitive behavior lowest average. 3) The relationship between information technology with learning management behavior of teachers in schools ChiangRai Primary Educational Service Area Office 2, has highly positive the relationship at the significant level of 0.01.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษา 2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ของครูในสถานศึกษา 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ของครูในสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครู และบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 ขนาดกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 191 คน และใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) โดยกำหนดสังกัดเป็นชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่มีลักษณะแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ โดยหาค่า IOC มีค่าระหว่าง 0.67–1.00 และค่าความเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์แอลฟาเท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความเที่ยงของเนื้อหา ค่าความเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์แอลฟา และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’ Product Moment Correlation Coefficient) ผลการวิจัย พบว่า 1) สภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 โดยภาพรวม อยู่ในเกณฑ์ระดับมาก โดยข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านความรู้และทักษะของบุคลากร รองลงมา ด้านการบริหารจัดการ ตามลำดับ ส่วนด้านระบบและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 2) พฤติกรรม การจัดการเรียนรู้ของครูในสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 โดยภาพรวม อยู่ในเกณฑ์ระดับมาก โดยข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ พฤติกรรมด้านจิตพิสัย รองลงมา พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย ตามลำดับ ส่วนพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 3) ความสัมพันธ์ของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ของครูในสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 โดยรวมมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectการบริหารสถานศึกษาth
dc.subjectพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้th
dc.subjectEducational administrationen
dc.subjectLearning management behavioren
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE RELATIONSHIP BETWEEN THE USE OF INFORMATION TECHNOLOGY AND LEARNING MANAGEMENT BEHAVIOR OF TEACHERS IN SCHOOLS, CHIANG RAI PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 2en
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับพฤติกรรม การจัดการเรียนรู้ของครูในสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62170411.pdf3.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.