Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/505
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSukanya Thaejaen
dc.contributorสุกัญญา เตจ๊ะth
dc.contributor.advisorThidawan Unkongen
dc.contributor.advisorธิดาวัลย์ อุ่นกองth
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. School of Educationen
dc.date.accessioned2022-07-25T03:49:13Z-
dc.date.available2022-07-25T03:49:13Z-
dc.date.issued9/7/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/505-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to study the transformational leadership of the school administrators of World Class Standard School under The Secondary Educational Service Area Office 36. 2) to study the effectiveness of World Class Standard School under The Secondary Educational Service Area Office 36. and 3) to study the relationship between the transformational leadership and the effectiveness of World Class Standard School under The Secondary Educational Service Area Office 36. The samples group were consisted 285 of administrators and teachers of World Class Standard School under The Secondary Educational Service Area Office 36. The data-collecting instruments were the set of five-leveled questionnaires developed by the researcher and the data-analyzing were percentage, mean, standard deviation and Pearsons correlation. The results were 1) the overall of transformational leadership was higher level. 2) the overall of effectiveness of World Class Standard School was high level and 3) the relationship between the transformational leadership of school administrators and the effectiveness of World Class Standard School was moderate which is statistically significant at .01en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 2) เพื่อศึกษาประสิทธิผลของมาตรฐานสากล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 และ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับประสิทธิผลของโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารและครูโรงเรียนมาตรฐานสากลที่ผ่านการประเมินในระดับ OBECQA ระดับมัธยมศึกษา ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 จำนวน 285 คน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตรประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) ประสิทธิผลของโรงเรียนมาตรฐานสากล โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับประสิทธิผลของโรงเรียนมาตรฐานสากลมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงth
dc.subjectประสิทธิผลของโรงเรียนมาตรฐานสากลth
dc.subjectTransformational Leadershipen
dc.subjectEffectiveness of World Class Standard Schoolen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE RELATIONSHIP BETWEEN TRANSFORMATIONAL LEADERSHIP OF ADMINISTRATORSAND WORLD CLASS STANDARD SCHOOL EFFECTIVENESS UNDERTHE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 36en
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62170354.pdf2.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.