Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/497
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Matthanita Dondong | en |
dc.contributor | มัฒธณิตาศ์ ดอนดง | th |
dc.contributor.advisor | Thararat Malaitao | en |
dc.contributor.advisor | ธารารัตน์ มาลัยเถาว์ | th |
dc.contributor.other | University of Phayao. School of Education | en |
dc.date.accessioned | 2022-07-25T03:49:11Z | - |
dc.date.available | 2022-07-25T03:49:11Z | - |
dc.date.issued | 9/7/2021 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/497 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed. (Educational Administration)) | en |
dc.description | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา)) | th |
dc.description.abstract | The purposes of this research were 1) to study Internal quality assurance system of schools under the management Of Chiang rai primary educational service area 3. 2) Compare opinion about the Internal quality assurance system management classified by working experience and the school size. The sample group of the research included 340 people. The tool was the questionnaires. The statistics analysis used were frequencies, percentage, mean and standard deviation F-test and One-Way ANOVA. The research results are as followings: 1) The Internal quality assurance system of schools under the management Of Chiang rai primary educational service area 3 had overall image in a high level. The part that got the highest level was development plan. Next was making Information management system part. The Internal quality assurance in school part was the least. 2) In case of School administrators and teachers with different work experience There are different management of the quality assurance system within educational institutions. And schools of different sizes. There are different management of the quality assurance system within educational institutions. Statistically significant at a level of .05. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการบริหารจัดการระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 และเพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนที่มีต่อการบริหารจัดการระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 จำแนกตามประสบการณ์ทำงานและขนาดโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน จำนวน 340 คน โดยใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างจากตารางสำเร็จรูปของเครจซีและมอร์แกน และการเทียบสัดส่วนแบบแบ่งชั้นภูมิ โดยแบ่งตามขนาดของโรงเรียน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ค่า F-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารจัดการระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านการดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา รองลงมา คือ ด้านการจัดระบบบริหารสารสนเทศ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา 2) ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนที่มีประสบการณ์ทำงานต่างกัน และอยู่ในโรงเรียนที่มีขนาดต่างกันมีการบริหารจัดการระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | การประกันคุณภาพการศึกษา | th |
dc.subject | Quality Assurance | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | THE ADMINISTRATION OF INTERNAL QUALITY ASSURANCE SYSTEMOF SCHOOLS UNDER THE MANAGEMENT OF CHIANG RAIPRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA 3 | en |
dc.title | การบริหารจัดการระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง | th |
Appears in Collections: | School of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62170253.pdf | 3.12 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.