Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/486
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorJeerasak Chumpooen
dc.contributorจีระศักดิ์ ชุมภูth
dc.contributor.advisorNatthawut Sabphasoen
dc.contributor.advisorณัฐวุฒิ สัพโสth
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. School of Educationen
dc.date.accessioned2022-07-25T03:49:10Z-
dc.date.available2022-07-25T03:49:10Z-
dc.date.issued9/7/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/486-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.abstractA Study of Technological Leadership of School Administrators in the End of Thailand Chiang Rai The objective is to study the technological leadership of school administrators in the end of Thai multicultural school. Chiang Rai And to compare the technological leadership of school administrators in the end of Thailand Chiang Rai Classified by education level and work experience. Population and sample groups used in this research were school administrators. The research instrument was a questionnaire. The statistics used in data analysis were: The frequency distribution, percentage, mean, and standard deviation were used statistically (One Way ANOVA) in the experience, when differences were found, they were compared with a pair using the method of (Scheffe's Method). The results of the research showed that 1) A study of technological leadership of school administrators in the end of Thai multicampus Chiang Rai The overall picture is very level. The aspect with the highest average was ethical and auditable, followed by risk management. And the side with the lowest average was creativity. 2) Comparison of administrators and teachers with opinions on a study of technological leadership of school administrators in the most local multicampi Chiang Rai Classified by education level The overall difference was statistically significant at 0.05 classified by work experience. The overall difference was statistically significant at 0.05.en
dc.description.abstractการศึกษาภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารโรงเรียนในกลุ่มสหวิทยาเขตสุดถิ่นไทย จังหวัดเชียงราย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารโรงเรียนในกลุ่มสหวิทยาเขตสุดถิ่นไทย จังหวัดเชียงราย และเพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารโรงเรียนในกลุ่มสหวิทยาเขตสุดถิ่นไทย จังหวัดเชียงราย จำแนกตามระดับการศึกษาและประสบการณ์การทำงาน ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอนโรงเรียนในกลุ่มสหวิทยาเขตสุดถิ่นไทย จำนวน 226 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้สถิติ (One Way ANOVA) ในประสบการณ์เมื่อพบความแตกต่างกันทำการเปรียบเทียบ เป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ (Scheffe’s Method) จากผลการวิจัยพบว่า 1) การศึกษาภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารโรงเรียนในกลุ่มสหวิทยาเขตสุดถิ่นไทย จังหวัดเชียงราย ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการมีจริยธรรมและตรวจสอบได้ รองลงมา คือ ด้านการบริหารความเสี่ยง และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการคิดสร้างสรรค์ 2) การเปรียบเทียบผู้บริหารและครูผู้สอนที่มีความคิดเห็นต่อการศึกษาภาวะผู้นำ เชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารโรงเรียนในกลุ่มสหวิทยาเขตสุดถิ่นไทย จังหวัดเชียงราย จำแนกตามระดับการศึกษา ภาพรวมแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน ภาพรวมมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05th
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีth
dc.subjectTechnological leadershipen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleA STUDY OF TECHNOLOGICAL LEADERSHIP OF SCHOOL ADMINISTRATORS IN THE END OF THAI MULTICAMPUS GROUPS CHIANG RAIen
dc.titleการศึกษาภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารโรงเรียน ในกลุ่มสหวิทยาเขตสุดถิ่นไทย จังหวัดเชียงรายth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62170084.pdf2.34 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.