Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/479
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorAnupong Somsrien
dc.contributorอนุพงษ์ สมศรีth
dc.contributor.advisorSopa Umnuayraten
dc.contributor.advisorโสภา อำนวยรัตน์th
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. School of Educationen
dc.date.accessioned2022-07-25T02:55:22Z-
dc.date.available2022-07-25T02:55:22Z-
dc.date.issued30/5/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/479-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.abstractThe aims of this study were to 1) study the performance-based budgeting of educational institution and 2) compare the performance-based budgeting of educational institution in Mae Suai district, Chiangrai Primary Educational Service Area Office 2. The study was divided into two parts: work experiences and size of educational institution. The sample size was 254 of school directors and teachers of Chiangrai Primary Educational Service Area Office 2 using Krejcie and Morgan’s comparison table and Stratified sampling. Research instruments consisted of five Likert scale questionnaire. The index of conformance is between 0.67 and 1.00 and the confidence is 0.946. The statistics of the study included percentage, mean, standard deviation, F-test, One-way Anova, and Scheffé test. The results revealed that 1) the total number of performance-based budgeting of educational institution, Chiangrai Primary Educational Service Area Office 2 was at the highest level particularly in financial and operational reports, the second Asset Management. But the lowest was Output Specification and Costing. 2) the comparison of performance-based budgeting of educational institution, Chiangrai Primary Educational Service Area Office 2 in terms of work experiences was not statistically different and 3) the comparison results of performance-based budgeting of educational institution, Chiangrai Primary Educational Service Area Office 2 was at a statistically significant difference .05 for the size of educational institution. and when considering each aspect, it was Output Specification and Costing financial management and budget control. significant difference .05en
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานของสถานศึกษาในอำเภอแม่สรวย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 และ 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานของสถานศึกษาในอำเภอแม่สรวย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 จำแนกตามประสบการณ์ทำงานและขนาดของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 จำนวน 254 คน โดยใช้ตารางเปรียบเทียบกลุ่มตัวอย่างของเครจซี่และมอร์แกน สุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นตามขนาดของสถานศึกษา  เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.67-1.00 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.946 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าเอฟ (F-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One – Way ANOVA) และตรวจสอบความแตกต่างเป็นรายคู่โดยวิธีตรวจสอบความแตกต่างของเชฟเฟ่ (Scheffe’) ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานของสถานศึกษาในอำเภอแม่สรวย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านการรายงานทางการเงินและผลการดำเนินงาน รองลงมาคือ ด้านการบริหารสินทรัพย์ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือด้านด้านการคำนวณต้นทุนการผลิต 2) ผลการเปรียบเทียบการศึกษาการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานของสถานศึกษา ในอำเภอแม่สรวย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 จำแนกตามประสบการณ์ทำงานโดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน และ 3) ผลการเปรียบเทียบการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานของสถานศึกษาในอำเภอแม่สรวย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 จำแนกตามขนาดของสถานศึกษาโดยภาพรวมแตกต่างกัน และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการคำนวณต้นทุนการผลิตและด้านการบริหารงานทางการเงินและการควบคุมงบประมาณแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 th
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectการบริหารงบประมาณth
dc.subjectมุ่งเน้นผลงานth
dc.subjectสถานศึกษาในอำเภอแม่สรวยth
dc.subjectBudget Managementen
dc.subjectPerformance-Based Budgetingen
dc.subjectEducational Institutions in Mae Suai Districten
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titlePERFORMANCE BASED BUDGETING MANAGEMENT OF SCHOOL IN MEA SUAI DISTRICT UNDER THE OFFICE OF CHIANG RAI PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA 2en
dc.titleการศึกษาการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานของสถานศึกษาในอำเภอแม่สรวย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63206030.pdf3.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.